อิทธิพลของการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ การรับรู้บรรยากาศขององค์การ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ โดยมีคุณภาพชีวิตการทางานเป็นตัวแปรสื่อ
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i1.213815คำสำคัญ:
การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ, การรับรู้บรรยากาศขององค์การ, คุณภาพชีวิตการทางาน, พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ,บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสารวจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับของการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ การรับรู้บรรยากาศขององค์การ คุณภาพชีวิตการทางาน และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ
การรับรู้บรรยากาศขององค์การ คุณภาพชีวิตการทางาน และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ
3) เพื่อศึกษาอิทธิพลของการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ การรับรู้บรรยากาศขององค์การ ที่มีผลต่อ
พฤติกรรมการเป็นสมาชิก ที่ดีขององค์การ โดยมีคุณภาพชีวิตการทางานเป็นตัวแปรสื่อ ผลการศึกษา
สรุปได้ดังนี้ พนักงานบริษัทมหาชนมีระดับการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การอยู่ในระดับสูง ระดับการรับรู้
บรรยากาศขององค์การ อยู่ในระดับสูง ระดับคุณภาพชีวิตการทางานอยู่ในระดับสูง และระดับ
พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การอยู่ในระดับสูง ผลการศึกษาความสัมพันธ์พบว่า การรับรู้
ความยุติธรรมในองค์การมีความสัมพันธ์กับการรับรู้บรรยากาศขององค์การ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทางาน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติ การรับรู้บรรยากาศขององค์การมีความสัมพันธ์กันกับคุณภาพชีวิตการทางาน อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติ การรับรู้บรรยากาศขององค์การมีความสัมพันธ์กันกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดี
ขององค์การ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คุณภาพชีวิตการทางานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรม
การเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การมี
อิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การโดยผ่านคุณภาพชีวิตการทางาน และการรับรู้
บรรยากาศขององค์การมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การทั้งโดยตรง และ
ผ่านคุณภาพชีวิตการทางาน
References
between organizational justice,
organization climate, and
organizational citizenship behavior:
in the automotive industrial
company in eastern Thailand.
Master of Business Administration.
Sripatum University.
Alikhani & Lebadi (2014). The Relationship
between Organizational Climate
and Organizational Justice and
Mental Health of the Staff in
Shahidbeheshti University of
Medical Sciences. J.Appl. Environ.
Biol. Sci., 4(10), 114-121.
Huse, E.F. & Cummings, T.G. (1985).
Organization Development and
Change. Minnesota: West Publishing.
Lomtaku, W. (2011). Causal Factors
Affecting Organizational Citizenship
Behavior of administrative staff
in public autonomous
universities. A Thesis Submitted in
Partial Fulfillment of the
Requirements for the Degree of
Master of Management Suranaree
University of Technology.
Moorman, R.H. (1991). Relationship
between organizational justice and
organizational citizenship behaviors: Do
fairness perceptions influence
employee citizenship. Journal of
Applied/pshychology. 76(6), 845-
855.
Organ, D.W. (1988). Organizational
Citizenship Behavior: The Goods
Soldier Syndrome. Lexington, MA:
Lexington.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว