การพัฒนาเกมแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 4
คำสำคัญ:
เกมแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้, นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา, ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์, การประเมินคุณภาพบทคัดย่อ
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาเกมแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ 2) เพื่อประเมินคุณภาพของเกมแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อเกมแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษา จำนวน 28 คน คัดเลือกโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) เกมแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ 2) แบบประเมินคุณภาพของเกมแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ และ 3) แบบทดสอบความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อเกมแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัย พบว่า 1) ได้เกมแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ประกอบด้วยภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียงดนตรีประกอบ เสียงบรรยาย และมีปฏิสัมพันธ์ในลักษณะของเกมแนวแพลตฟอร์ม (Platform) ช่วยเสริมสร้างความสนุกในการเรียนรู้ 2) ผลการประเมินคุณภาพเกมแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดและ 3) ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อเกมแอปพลิเคชันเพื่อการเรียนรู้ พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
References
Ban Wangkhae School. (2023). Self - Assessment Report : SAR. Udonthani: Ban Wangkhae School (In Thai).
Chunthawong, N., Janthajumrusrat, C., & Songsiengchai, S. (2022). The computer game application development of primary level marine animal English vocabulary pictures on android operating system mobile phones. Academic Journal of Buriram Rajabhat University, 14(2), 1-20. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/bruj/issue/ download/17436 (In Thai)
Dampandee, K., & Mata, N. (2022). The development of game application for mathematics learning on android operating system. The 8th National Conference on Technology and Innovation Management (pp. 2184-2191). Maha Sarakham: Maha Sarakham Rajabhat University (In Thai).
Dangsaart, S. (2022). Thai sign language matching game application. Dhonburi Rajabhat University Journal, 16(1), 178-193. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/ journaldru/article/view/257447 (In Thai)
Davis, A. L. (2013). Using instructional design principles to develop effective information literacy instruction. The ADDIE model. College & Research Libraries News, 74(4), 205-207. Retrieved from https://crln.acrl.org/index.php/crlnews/article/view/8934/9656
Jeekartok, K., Chaichitwanidchakol, P., Burat, C., & Tasarin, S. (2022). The development of learning media application smartphoneson computational thinking for mathayomsuksa 4. Journal of Humanities, Social Sciences, and Arts, 4(1), 21-27. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/hsa/article/view/267216 (In Thai)
Phatthiyathanee, S. (2019). Educational Measurements (12th ed.). Kalasin: Prasarn Karnpim Printing (In Thai).
Ranuharja, F., Ganefri, G., Fajri, B. R., Prasetya, F., & Samala, A. D. (2021). Development of interactive learning media edugame using ADDIE model. Journal Teknologi Informasi dan Pendidikan, 14(1), 53-59. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/352060353_DEVELOPMENT_OF_INTERACTIVE_LEARNING_MEDIA_EDUGAME_USING_ADDIE_MODEL
Saenboonsong, S. (2023). The Development of Game on Mobile Application forMedia Literacy of Primary Students under Office ofPhranakhon Si Ayutthaya Educational Service Area. Journal of Education, Prince of Songkla University, Pattani Campus, 34(1), 57-69. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/edupsu/article/view/252309 (In Thai)
Sriutha, S., & Suramanee, S. (2015). Development of Game Application for Learning on the Computer Tablet, Topic : The Computer Hardware for Mathayomsuksa 4. Journal of Project in Computer Science and Information Technology, 1(1), 18-25. Retrieved from http://it.rmu.ac.th/project-journal/downloads/entry/4 (In Thai)
Wattanakamolkul, P., & Somkanae, M. (2021). Learning Chinese vocabulary skills by using games with applications. Research and Development Journal Suan Sunandha Rajabhat University, 13(1), 98-109. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/irdssru/article/view/249535 (In Thai)
Youngmee, K., & Soodsang, N. (2020). Effects of game applications model on art learning and spatial relations of early childhood. The Journal of Social Communication Innovation, 8(1), 89-104. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jcosci/article/view/12700 (In Thai)
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว