A Development of Future Leadership Model for the President of Executive University.by Qmetthodology
Keywords:
Future Leadership, Executive University, Leadership ModelAbstract
The purposes of this research were to find 1) The Future Leadership for Executive University president by Q methodology 2) And for assess the suitability of Future Leadership Model for Executive University President by linear assessment survey.
The research findings revealed as follow:
1. Future Leadership Model for Executive University President composes 3 an elements. 1) Higher Education Management. 2) Good governance, Virtue and Morality. 3) Vision.
2. Future Leadership Model for Executive University President were at highest level in element 1 and 2, and at the high level in element 3.
References
กัลยาณี จิตต์การุณย์ แสงเดือน ทวีสินและพรรณี เกษกมล. (2546). การพัฒนาหลักสูตร ฝึกอบรมสำหรับผู้บริหารของกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาผู้บริหารการศึกษา สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ.
โควี่ สตีเฟน อาร์. (2548). 7 อุปนิสัยสำหรับผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง. (นภดล เวชสวัสดิ์และดนัยจันทร์เจ้าฉาย ผู้แปล). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ดีเอ็มจี.
จามจุรี จำลองเมือง. (2548). รูปแบบภาวะผู้นำที่มีประสิทธิผลของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.
ชัยวิชิต เชียรชนะและศจีมาจ ณ วิเชียร. (2555). วิธีวิทยาคิว: มโนทัศน์และการประยุกต์ใช้กับการวิจัยทางการศึกษา. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย (สสอท.), 18(2), 179-185.
_______. (2556). การวิเคราะห์มุมมองการเสริมสร้างพลังอำนาจการทำงานของครู ตามทัศนะของครู สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ด้วยวิธีวิทยาคิว.
วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 19(2), 139-152.
ชัยวัฒน์ ถิระพันธ์. (2551). ผู้นำแห่งอนาคตในความคิดของปีเตอร์ เซนจ์: สถาบันการเรียนรู้และพัฒนาประชาสังคม (Civicnet Institute). สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2556, จาก http://www.thaicivicnet.com/?p=18: Peter Senge.
ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2550). ผู้บริหารแห่งอนาคต. กรุงเทพฯ: ฐานบุ๊คส์.
ดนุช ตันเทอดทิตย์. (2555). การประยุกต์ใช้วิธีวิทยาคิวในการพัฒนารูปแบบภาวะผู้นำแนวพุทธสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการ บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
ธวัช บุณยมณี. (2550). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
นิตย์ สัมมาพันธ์. (2548). ภาวะผู้นำ : พลังขับเคลื่อนองค์การสู่ความเป็นเลิศ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: อินโนกราฟฟิกส์.
เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2546). จริยธรรมธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เซ็นทรัลเอ็กซ์เพรส.
ประคัลภ์ ปัณฑพลังกูร. (2556). ทักษะที่สำคัญ 5 ประการของผู้นำในอนาคต. สืบค้นเมื่อ 29 กรกฎาคม 2556, จาก http://www.Prakal.wordpress.com/2013/07/29.
ประทีป บินชัย. (2546). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวภาวะผู้นำพิสัยสมบูรณ์ ของผู้บริหารสถานศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.
แผนพัฒนาการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. 2555 – 2559. (2555). สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.
แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552-2559). (2553) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. กระทรวงศึกษาธิการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ: ธรรมสภา.
พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550. ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 124 ตอนที่ 101ก วันที่ 29 ธันวาคม 2550.
พูนสุข หิงคานนท์. (2540). การพัฒนารูปแบบการจัดองค์การวิทยาลัยพยาบาลของกระทรวงสาธารณสุข. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยงยุทธ เกษสาคร. (2546). ภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม. กรุงเทพฯ: เอส.แอนด์จี. กราฟฟิค.
รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2544). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ: ธนวัธการพิมพ์.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 124 ตอนที่ 47ก วันที่ 24 สิงหาคม 2550.
รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2556). ภาวะผู้นำ : ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊ค พับลิเคชั่น.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2557). สถาบันอุดมศึกษาเอกชน. สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2557, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/สถาบันอุดมศึกษาเอกชน.
วิทยากร เชียงกูล. (2556). ผู้นำแห่งอนาคตในทัศนะของสตีเฟน โควีย์: สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2557, จาก https://sitesgoogle.com/site/christianthaisite/phuna.
วิศิษฐ์ ศรีวิชัยัตน์. (2550). การศึกษาเพื่อรัก รับใช้ คุณธรรมนำความรู้คู่การพัฒนา. เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาครั้งที่ 37 ประจำปีการศึกษา 2550 กรุงเทพฯ: สภาการศึกษาคาทอลิก. (ประเทศไทย).
วิโรจน์ สารรัตนะ. (2548). การบริหารการ : หลักการ ทฤษฎีและประเด็นทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: อักษราพิพัฒน์.
_______. (2553). ผู้บริหารโรงเรียน : สามมิติการพัฒนาวิชาชีพสู่ความเป็นผู้บริหารที่มีประสิทธิผล. พิมพ์ครั้งที่ 7. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
_______. (2555). แนวคิด ทฤษฎี และประเด็นทางการศึกษา เพื่อการบริหารทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: ทิพยวิสุทธิ์.
ศาลินา บุญเกื้อ. (2554). การวิเคราะห์ภาวะผู้นำในการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนต้นแบบ การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. วิทยานิพนธ์ปริญญา ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เศรษฐวิชญ์ ชโนวรรณและอวยพร เรืองตระกูล. (2552). การวิเคราะห์ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการทำวิจัยในชั้นเรียนด้วยวิธีวิทยาคิว. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 4(2), 459-472.
ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร. (2549). การวิเคราะห์งานวิจัยทางการบริหารการศึกษา วารสารบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2(1), ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
สมจิต กัลป์ยาณกุล. (2544). แบบภาวะผู้นำของโรงเรียนสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. สถาบันราชภัฏเชียงราย.
สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ. (2547). การพัฒนารูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผู้นำของคณบดี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (2552-2559). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สุชาต ประสิทธิ์รัฐสินธุ์และกรรณิการ์ สุขเกษม. (2550). นานานวตกรรมวิธีวิทยาคิว (Q methodology) การศึกษาสภาวะจิตวิสัยเชิงวิทยาศาสตร์: แนวคิด ทฤษฎีและ
การประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ: สามลดา.
สุภางค์ จันทวานิช. (2547). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2548). ภาวะผู้นำทฤษฎีและปฏิบัติ : ศาสตร์และศิลป์สู่ความเป็นผู้นำที่สมบูรณ์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: วิรัตน์เอ็ดดูเคชั่น.
เสน่ห์ แตงทอง. (2542). ภาพอนาคตทางการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาในทศวรรตหน้า:กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านคลองตัน วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษา
ศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2536) ภาวะผู้นำและความขัดแย้ง. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อุทัย บุญประเสริฐ. (2546). ผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพ. บัณฑิตวิทยาลัยสวนดุสิต, 1(1), in
Downloads
Published
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับสถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค และคณาจารย์ท่านอื่นๆในสถาบันฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว