Administration Related to the Administration Effectiveness of Romsai Wittaya School

Authors

  • Chaichoompol Chamnanmark วิทยาลัยทองสุข
  • Jiraphan Namchawad วิทยาลัยทองสุข

Keywords:

Administration, ,Administration Effectiveness, Romsai Wittaya School

Abstract

This research aims to study and compare the opinions of factors affecting the administration related to the administration effectiveness of Romsai Wittaya School. The instrument used in this study was a five-level scale questionnaire with Likert's reliability of .85. The statistics used for data analysis were analyzed by frequency, percentage, mean standard deviation, Correlation Coefficient and Multiple Regression Analysis.

The results of the study revealed that the opinions on the administration related to the administration effectiveness of Romsai Wittaya School in overall was in high level. When classified according to each aspect. Most respondents were of the opinion that the first was the organization of the second, the third is the third, the fourth is the fifth, the fifth is the planning, the sixth is the coordination. The effectiveness of Romsai Wittaya School in overall was in high level. The Relationship between Administration factor and effectiveness of Romsai Wittaya School indicated that the planning factors correlate with the effectiveness of  academic administration in high correlation coefficient (r =79)

 

References

นกกรานต์ คชชะ(2550) คุณลักษณะที่เป็นจริงและคุณลักษณะที่คาดหวังของผู้บริหารสูตรตามความคิดเห็นของครูในสถานศึกษา จังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์ ค.ม. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา สำนักงานประสานงานบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์. 2550.

กิตติ บรรณโศภิษฐ์ (2546) การศึกษาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารวิทยาลัยอาชีวศึกษาตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครูอาจารย์กลุ่มภาคใต้ สังกัดกองวิทยาลัยอาชีวศึกษา กรมอาชีวศึกษา. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา สถาบันราชภัฏนครศรีธรรมราช.

กัลยา วานิชย์บัญชา.(2552) การวิเคราะห์สถิติ : สถิติสำหรับการบริหารและวิจัย. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กระทรวงศึกษาธิการ (2546) คู่มือการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

คณกร ต้นวิบูลย์ศักดิ์ (2550) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาเขตตรวจราชการที่ 3. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา.

ทักสิณา ชูก้าน (2555) คุณลักษณะผู้นำอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนในสำนักงานเขตบางแค สังกัดกรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยทองสุข.

ธวัธชัย กลิ่นดี (2545) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาส สังกัด กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.

ณภัทร ชินวงศ์ (2545) คุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียนที่เป็นจริงและที่พึงประสงค์ในทัศนะของ ครู อาจารย์โรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ดนัย สันตยากร (2548) คุณลักษณะที่เป็นจริงและที่พึงประสงค์ของผู้อำนวยการวิทยาลัยสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออก 3. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. สาขาวิชาการบริหาร การศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

นิศารัตน์ ศิลปเดช(2542) เอกสารประกอบการสอนระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์เบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฏธนบุรี.

บัณฑิต ผังนิรันดร์. (2550). อิทธิพลของลักษณะขององค์การ นโยบายการบริหารและการปฏิบัติงานสภาพแวดล้อมการทำงานภายในองค์การ แรงจูงใจในการทำงานความพึงพอใจในงาน และความผูกพันต่อองค์การ ทีมีต่อประสิทธิผลของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการอุดมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บุญมา กัมปนาทพงษ์ (2532) การศึกษาคุณลักษณะผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐ. วิทยานิพนธ์ ปริญญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

ประทิน วิเศษสุวรรณ.ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการบริหารสถานศึกษาเอกชนในยุคประชาคมอาเซียนจังหวัดปทุมธานี.วารสารบริหารการศึกษา มศว ปีที่ : 13 ฉบับที่ : 24 เลขหน้า : 62-71 ปี พ.ศ. : 2559

ประมวล ชิลวงษ์ (2547) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษา ในยุคปฏิรูปการศึกษาตามทัศนะของครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม เขต 2. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2535) การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: สหมิตรออฟเซท.

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. พร้อมกฎหมายกระทรวงที่เกี่ยวข้องและพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.)

พัชราภรณ์ ปัญญาวุฒิไกร.(2552). เปิดชีวิตอ่านเพื่อนบ้าน. กรุงเทพฯ : สำนักงานอุทยานการเรียนรู้.

ศิริรัตน์ ทองมีศรี. (2556). ปัจจัยด้านคุณลักษณะผู้ บริหารลักษณะงานของครูและแรงจูงใจในการ ทำงานของครูทีส่งผลต่อคุณภาพการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนเอกชน.ปริญญาการศึกษา ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สำนักงานเลขาธิการศึกษา (2550). มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ.กรุงเทพฯ:องค์การรับส่งสินค้า และพัสดุภัณฑ์.

สุปัญญา หาแก้ว. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 3. ปริญญานิพนธ์การศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

อัมพร วงษ์พิทักษ์. (2555 ). การมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนนคร ระยองวิทยาคม (วัดโขดใต้). วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

Caldwell,B.J.; & Sprinks,J.M. (1990). The Self-managing School.London: Taylor and Francis (Printers) Ltd.

Certo,Samuel C. (2000). Modern management. 8th ed. Englewood Cliffs. N.J : Prentice-Hall.

Heneveld, W. (1994). Planning and monitoring the quality of primary education in Sub-Saharan Africa. Washington DC: World Bank, Human Resources and Poverty Division.

Lunenburg.Frederic C. and Allan C. Omstein.(2000). Educational administration concepts and practices. 3rd ed. New York : Thomson Learning.

Downloads

Published

2021-03-25