ความหมายของ “ประชาธิปตัย” ในประกาศคณะราษฎรฉบับที่ 1

Main Article Content

เพิ่มศักดิ์ จะเรียมพันธ์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีจุดมุ่งหมายในการศึกษาถึงความหมายของมโนทัศน์ “ประชาธิปตัย” ในประกาศคณะราษฎรฉบับที่ 1 ของนายปรีดี พนมยงค์ โดยใช้ระเบียบวิธีการศึกษาเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เอกสาร ผ่านการวิเคราะห์ตัวบทและบริบทแวดล้อมตามขนบการศึกษาเชิงประวัติความคิดทางการเมือง ผลการศึกษาพบว่า ความหมายของมโนทัศน์ “ประชาธิปตัย” ของปรีดี พนมยงค์ ในประกาศคณะราษฎรฉบับที่ 1 มีความหมายถึงการปกครองแบบมหาชนรัฐหรือการปกครองที่ไม่มีพระมหากษัตริย์ อันเป็นความหมายหนึ่งในห้าความหมายของประชาธิปตัย/ไตยในสังคมสยามช่วงระยะเวลาดังกล่าว

Article Details

บท
Research Articles
Author Biography

เพิ่มศักดิ์ จะเรียมพันธ์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ผู้ช่วยศาสตราจารย์, อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240 อีเมล์: phermsakc@gmail.com

References

ภาษาไทย

กลุ่มวิจัยประวัติศาสตร์ธรรมศาสตร์ สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2526). ปรีดี พนมยงค์ ชีวิตและงาน พ.ศ. 2443-2526 ใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (บรรณาธิการ). ประชุมกฎหมายมหาชนและเอกชนของปรีดี พนมยงค์, (หน้า 77-86). กรุงเทพฯ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

กษิดิศ อนันทนาธร (2563). (บรรณาธิการ). ปรีดี พนมยงค์: ชีวประวัติฉบับพกพา กรุงเทพฯ: สํานักงานธรรมศาสตร์สัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

กษิดิศ อนันทนาธร. (2560). (บรรณาธิการ). ปรีดีบรรณานุสรณ์ ๒๕๖๐. กรุงเทพฯ: งานสื่อสารองค์กร กองแผนงาน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ขัยอนันต์ สมุทวณิช และขัตติยา กรรณสูต. (2518). เอกสารการเมืองการปกครองไทย พ.ศ. 2417-2477. กรุงเทพฯ: โครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.

เฉลิมเกียรติ ผิวนวล. (2529). ความคิดทางการเมืองของปรีดี พนมยงค์. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง.

ชาญวุฒิ วัชรพุกก์. (2526). วิวัฒนาการประชาธิปไตยแบบไทย. ใน กองบรรณาธิการวารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (บรรณาธิการ), 50 ปีบนเส้นทางประชาธิปไตย: บันทึกการสัมมนาทางวิชาการในวาระฉลองกรุงรัตนโกสินทร์ และรำลึกกึ่งศตวรรษประชาธิปไตย (หน้า 1-55). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ไชยันต์ ไชยพร. (2557). นิธิ เอียวศรีวงศ์ ใน/กับวิกฤตการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.

ไชยันต์ ไชยพร. (2560). ประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข : บทวิเคราะห์มาตรา 7 จากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2540 ถึงรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.

ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล. (2563). ชีวิตสามัญ (พ.ศ. ๒๔๔๓ - ๒๔๗๕) แสวงวิถีปัญญาและการศึกษาเพื่อมาตุภูมิ. ใน กษิดิษ อนันทนาธร (บรรณาธิการ), ปรีดี พนมยงค์ ชีวประวัติฉบับพกพา (หน้า 15-37). กรุงเทพฯ: สำนักงานธรรมศาสตร์สัมพันธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ทศ พันธุมเสน. (2536). การยึดอำนาจ ๒๔ มิถุนายน ๒๔๗๕. ใน วัน “ปรีดี พนมยงค์” ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๓๖. จำรัส ชมพูพล (บ.ก.) กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. หน้า 76-134.

ทิพวรรณ เจียมธีรสกุล. (2531). ปฐมทรรศน์ทางการเมืองของปรีดี พนมยงค์. กรุงเทพฯ: รุ่งแสง.

ทิพวรรณ เจียมธีรสกุล. (2544). ปฐมทรรศ์ทางการเมืองของปรีดี พนมยงค์ ฉบับสมบูรณ์. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: คณะกรรมการดำเนินงานฉลอง 100 ปี ชาตกาล นายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส ภาคเอกชน.

ทิพวรรณ บุญทวี. (2528). ความคิดทางการเมืองของปรีดี พนมยงค์ : ระยะเริ่มแรก (พ.ศ. 2443-2477). (วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

ธงชัย วินิจจะกูล. (2556). ประชาธิปไตยที่มีกษัตริย์อยู่เหนือการเมือง : ว่าด้วยประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2528). ประวัติศาสตร์ภูมิปัญญาของการเปลี่ยนระบอบการปกครองสยาม. (วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2549). กรณี ร.7 ทรงสละราชสมบัติ: การตีความและการสานต่อความหมายทางการเมือง. กรุงเทพฯ: คบไฟ.

นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2553). การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 (พิมพ์ครั้งที่ 5 ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน.

นิติราษฎร์. (ม.ป.ป.). ประกาศคณะราษฎร. ค้นจาก http://www.enlightened-jurists.com/download/5 (ลิงก์เสีย) ปัจจุบันสามารถค้นได้จาก https://commons.wikimedia.org/wiki/File:ประกาศคณะราษฎร_(๒๔๗๕-๐๖-๒๔).pdf

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2557). ชาติไทย, เมืองไทย, แบบเรียนและอนุสาวรีย์: ว่าด้วยวัฒนธรรม, รัฐ และรูปการจิตสำนึก(พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: มติชน.

บีบีซีไทย. (2563). คณะราษฎร : รวมภาพกิจกรรมอ่านประกาศคณะราษฎร รำลึก 88 ปี ปฏิวัติสยาม 24 มิถุนา. ค้นจาก https://www.bbc.com/thai/thailand-53159857

บุญเลอ เจริญพิภพ. (2475). ประมวญเหตุการณ์และภาพในการเปลี่ยนแปลงการปกครองของคณะราษฎร. พระนคร: หนังสือพิมพ์ไทย.

ประจักษ์ ก้องกีรติ. (2562ก). (บรรณาธิการ). อดีต ปัจจุบัน และอนาคตประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ: ศยาม.

ประจักษ์ ก้องกีรติ. (2562ข). ประชาธิปไตย : หลากความหมาย หลายรูปแบบ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สยามปริทัศน์.

ประชาไท. (2550). โปรดฟังอีกครั้งในรอบ 75 ปี เมื่อ "ลูกพระยาพหลฯ" อ่านประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1. ค้นจาก https://prachatai.com/journal/2007/06/13231

ประชาไท. (2555). ประกาศหลัก 6 ประการของคณะราษฎรที่ 2. ค้นจากhttps://prachatai.com/journal/2012/06/41243

ประเสริฐ ปัทมสุคนธ์. (2517). รัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองปี. กรุงเทพฯ: กุล่มรัฐกิจเสรี.

ปรีดี พนมยงค์. (2526). ชีวประวัติย่อของนายปรีดี พนมยงค์ จนถึง 24 กรกฎาคม 2525. กรุงเทพฯ: โครงการ "ปรีดี พนมยงค์ กับสังคมไทย".

ปั้น บุณยเกียรติ และเฮง เล้ากระจ่าง. (2475). สยามรัฐเปลี่ยนแปลงการปกครองแผ่นดินโดยมีพระราชาธิบดีอยู่ใต้พระธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน พ.ศ. ๒๔๗๕. พระนคร: เดลิเมล์.

เพิ่มศักดิ์ จะเรียมพันธ์. (2561). ความคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตยในประเทศไทยจนถึง พ.ศ. 2475 : การก่อรูป, การประชันความหมาย และการผสมผสาน. (วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

เพิ่มศักดิ์ จะเรียมพันธ์. (กำลังรอตีพิมพ์). ความคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตยในประเทศไทย พ.ศ. 2475 – 2478. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ไพโรจน์ ชัยนาม. (2488). รัฐธรรมนูญ บทกฎหมายและเอกสารสำคัญในทางการเมืองของประเทศไทย, เล่ม ๑. กรุงเทพฯ: พานิชศุภผล.

มติชนออนไลน์. (2563). สนท.อ่านประกาศ ‘คณะราษฎร’ ประชาชนชู 3 นิ้ว กางป้าย ‘คณะราษฎรยังไม่ตาย’ กลางสกายวอล์ก. ค้นจาก https://www.matichon.co.th/local/news_2241837

มติชนออนไลน์. (2564). จุดเทียน-ขึงป้ายผ้า อ่านประกาศ ‘คณะราษฎร’ ขับขานเพลงวันชาติ หวน ’89 ปี (มีคลิป) 2475’ สนั่นอนุสาวรีย์. ค้นจาก https://www.matichon.co.th/politics/news_2792434

วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร. (2543). แนวคิดทางเศรษฐกิจของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ: เรือนแก้ว.

สถาบันปรีดีพนมยงค์. (ม.ป.ป.). ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ ๑. ค้นจากhttps://pridi.or.th/th/libraries/1583202126

สมเกียรติ วันทะนะ (2561). โลกที่คิดว่าคุ้นเคย? ความคิดทางการเมืองไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๒๓๑๐. กรุงเทพฯ: ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

สมเกียรติ วันทะนะ. (2539). ไทยศึกษายุคใหม่: ข้อจำกัดของการวิจัยเชิงปริมาณ. ใน ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ (บรรณาธิการ), จินตนาการสู่ปี 2000 : นวัตกรรมเชิงกระบวนทัศน์ด้านไทยศึกษา (หน้า 457-494). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

สมชาย ปรีชาศิลปกุล. (2561). นี่คือปณิธานที่หาญมุ่ง : ข้อถกเถียงว่าด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์ในองค์กรจัดทำรัฐธรรมนูญของไทย ตั้งแต่ พ.ศ.2475-2550. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2524). การปฏิวัติประชาธิปไตย : ความฝันหรือความจริง. ใน องค์การนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และพรรคแสงธรรมมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (บรรณาธิการ), อนาคตขบวนการประชาธิปไตย (หน้า 235-241). กรุงเทพฯ: องค์การ.

สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2544). ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง. กรุงเทพฯ: 6 ตุลารำลึก.

เสกสรรค์ ประเสริฐกุล. (2553). วิภาษวิธีแห่งจิตตปัญญา : จากศีล 5 ถึงปรัชญาปารมิตา. นครปฐม : ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล.

หลวงประดิษฐมนูธรรม และพระสารสาสน์ประพันธ์. (2475). คำอธิบายกฎหมายปกครอง. พระนคร: นิติสาสน์.

อนุสรณ์ ธรรมใจ. (2552). ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษผู้อภิวัฒน์. กรุงเทพฯ: กรุงเทพธุรกิจ Bizbook.

เอนก เหล่าธรรมทัศน์. (2562). เค้าโครงความคิดพินิจประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์.

ภาษาอังกฤษ

Ball, T. & R. Dagger. (2009). Political Ideologies and the Democratic Ideal. New York: Pearson Longman.

Collier, D & S., Levitsky. (1997). Democracy ‘with Adjectives’: Conceptual Innovation in Comparative Research. World Politic, 49, 430-451.

Crick, B. (2002). Democracy: A Very Short Introduction. Oxford: Oxford University Press.

Diamond, L. (2002). Thinking About Hybrid Regimes. Journal of Democracy, 13(2), 21-35.

Dunn, J. (1968). The Identity of the History of Ideas. Philosophy 43, 85–104.

Hanson, R. L. Democracy in Ball, Terrance, James Farr and Russell L. Hanson (Eds.) Political Innovation and Conceptual Change (pp. 68-89). Cambridge: Cambridge University Press.

Pocock, J. G. A. (2009). The History of Political Thought: A Methodological Enquiry. In Political Thought and History: Essays on Theory and Method (pp.3-19). Cambridge: Cambridge University Press.

Schmitter, P. C. & T. L., Karl. (1991). What Democracy Is…and Is Not. Journal of Democracy, 2(3), 75-88.

Skinner, Q. (1969). Meaning and Understanding in the History of Ideas. History and Theory 8, 3-53.

Whatmore. R. (2006). Intellectual History and the History of Political Thought. In Richard Whatmore and Brian Young (Eds.), Palgrave Advances in Intellectual History (pp. 109-129). London: Palgrave.

Young, B. (2006) Introduction. In Richard Whatmore and Brian Young (Eds.), Palgrave Advances in Intellectual History (pp. 1-7). London: Palgrave.