สงครามต่อต้านการก่อความไม่สงบในมลายาและนโยบายการ “เอาชนะจิตและใจ”

Main Article Content

เมลีซา อับดุลเลาะห์

บทคัดย่อ

บทความนี้ศึกษาการปรับตัวและการสร้างวิธีคิดชุดใหม่ในการรับมือกับสงครามต่อต้านการก่อความไม่สงบ (counterinsurgency: COIN) ของรัฐบาลอังกฤษในมลายาเมื่อปี 1948 ถึงปี 1960 สงครามนอกแบบ (unconventional warfare) ชุดแรกที่เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 การศึกษาพบว่าบทบาทของผู้บริหารระดับสูงอย่าง เซอร์ เจอราล์ด เทมเพลอร์ (Sir Gerald Templer) ที่ยอมรับข้อจำกัดของวิธีคิดชุดเก่า เล็งเห็นว่าสงครามในมลายาเป็นสงครามทางการเมือง (political war) และมีแนวคิดต่อการทำสงครามครั้งนี้ด้วยสำนวน “การเอาชนะจิตและใจ (Winning Hearts and Minds)” ประชาชน โดยเฉพาะชาวจีนในมลายาฐานสนับสนุนสำคัญของผู้ก่อความไม่สงบ ว่าต้องเป็นสาระสำคัญในการสู้รบกับผู้ก่อความไม่สงบ ผ่านมาตรการสำคัญ คือ 1) การเรียกร้องสิทธิถือครองที่ดินสำหรับชาวจีนในหมู่บ้านยุทธศาสตร์และสิทธิความเป็นพลเมืองแก่ประชากรทุกชาติพันธุ์ในมลายา 2) การปรับปรุงประสิทธิภาพตำรวจในมลายาและเปิดโอกาสให้ชาวจีนเข้าร่วมงานกับหน่วยงานตำรวจและกองทัพ และ 3) การวางรากฐานสู่การปกครองตนเองในมลายาและการประกาศเขตขาว เป็นการริเริ่มเปลี่ยนโฉมหน้าของสงครามและวางรากฐานการทำสงครามที่มุ่งให้ความสำคัญทางการเมืองจนทำให้รัฐบาลอังกฤษสามารถยุติสงครามต่อต้านการก่อความไม่สงบดังกล่าวได้ในปี 1960

Article Details

บท
Academic Articles
Author Biography

เมลีซา อับดุลเลาะห์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นิสิตปริญญาโท สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีเมล์ maylisa1335@gmail.com

References

References

Clutlerbuck, R. (1966). The Long, Long War: Counterinsurgency in Malaya and Vietnam. Newyork: Frederick A. Praeger.

Clutterbuck, R. (1985). Conflict and Violence in Singapore and Malaysia 1945-1983. Singapore:

Graham Brash.

Comber, L. (2008). The Special Branch and the Briggs Plan. In Malaya's Secret Police 1945–60: The Role of the Special Branch in the Malayan Emergency (pp. 147-172). chapter 7, ISEAS–Yusof Ishak Institute.

Comber, L. (2015). Templer and the Road to Malayan Independence: The Man and His Time.

Singapore: Institute of Southeast Asian Studies

Federation of Malaya Report of the Committee Appointed to Examine the Question of Elections to the Legislative Council. (1954). Kuala Lumpur: Government printer.

Petraeus, D. and Amos, J. A. (2006). FM3-24/MCWP 3-33.5, Counterinsurgency. Retrieved 12 June 2020 http://www.fas.org/irp/doddir/army/fm3-24.pdf

Hack, K. (2009). The Malayan Emergency as Counter-Insurgency Paradigm. Journal of Strategic Studies, 32(3), 383-414.

Ling, H. H. (2010). Kegagalan gerakan bersenjata Parti Komunis Malaya (PKM), 1948-1961: Satu analisis. Malaysia Dari Segi Sejarah, 38.

Nagl, J. (2005). Learning to Eat Soup with a Knife: Counterinsurgency Lessons from Malaya and

Vietnam. London: University of Chicago Press.

Ramakrishna, K. (2001). Transmogrifying' Malaya: The Impact of Sir Gerald Templer (1952-54).

Journal of Southeast Asian Studies, 32(1), 79-92.

Strauch, J. (1981). Chinese Village Politics in the Malaysian State (Master’s thesis). Cambridge: Harvard University Press.

จีนเป็ง. (2557). ประวัติศาสตร์คู่ขนาน : เรื่องเล่าเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์มลายา [Alias Chin Peng: My Side of History], (ธันว์รวี, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: พี.เพรส.

ทอมสัน, โรเบิรต์. (2515). พิชิตการก่อความไม่สงบคอมมิวนิสต์ [Defeating Communist Insurgency], (สมโภชน์ วิไลจิตต์ และ สุวิทย์ สุวรรณ ,ผู้แปล). พระนคร: ศิวพร.

บาร์เบอร์, โนเอล. (2516). สงครามของพวกสุนัขรับใช้ [War of the Running Dogs], (สมโภชน์ วิไลจิตต์ และ สุวิทย์ สุวรรณ, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: ศิวพร.

สุรชาติ บำรุงสุข. (2550). การต่อต้านการก่อความไม่สงบ [จุลสาร]. กรุงเทพฯ: สแควร์ ปริ๊นซ์ 93 จำกัด.

สุรชาติ บำรุงสุข. (2551). บทเรียนจากมลายา (Lessons Learned from Malaya) [จุลสาร]. กรุงเทพฯ: สแควร์ ปริ๊นซ์ 93 จำกัด.

สุรชาติ บำรุงสุข. (2554). Winning hearts and minds [จุลสาร]. กรุงเทพฯ: สแควร์ ปริ๊นซ์ 93 จำกัด.

ARCHIVAL SOURCES

CAB 129/76 CP (55) 81, Federation of Malaya: Constitutional Developments. Cabinet Menorendom by Mr. Lennox-Boyd, 20 July 1955.

CO 967/84, No.70, Brief for Mr. Rees Willliams Tour of Hong Kong, Singapore and Malaya, October/November 1949.

CO 1022/100, Confidential, “General Templer’s Address to the Legislative Council”, 19 March 1952.

CO 1022/103, Directive to General Sir Gerald Templer, 1 February 1952.

NAA: A816, 19/321/18, Secret, “Movement towards Self-Government in Malaya”, 23 September 1953.

TNA: Air20/10377, ‘Review of the Emergency’, DOO, 12 September 1957.