ในน้ำมีปลา สายใยสัมพันธ์แห่งอาหาร ระหว่างผู้คนในปตานีสะท้อนผ่านเรื่องราวของบูดู
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้ศึกษาสายใยสัมพันธ์ของผู้คนในพื้นที่ปตานี/จังหวัดชายแดนภาคใต้ ผ่านเรื่องราวของบูดู บนกรอบคิดของแนวทางมานุษยวิทยาด้านอาหารและแนวทางรัฐศาสตร์ยุคหลังพฤติกรรมศาสตร์ บทความนี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ทำการเก็บข้อมูลด้วยการสนทนาเฉพาะกลุ่มและการสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยศาสตร์แห่งการตีความและการวิเคราะห์ภาษาธรรมดา โดยกำหนดให้ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ และอำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี เป็นกรณีศึกษาหลัก ผลการวิจัยสะท้อนว่า กระบวนการผลิตและกระจายบูดูเป็นกิจกรรมเกี่ยวกับอาหารที่เชื่อมร้อยผู้คนแต่ละกลุ่มเข้าด้วยกัน รวมทั้งเชื่อมโยงผู้คนเข้ากับธรรมชาติและวัฒนธรรม ขณะเดียวกัน พลวัตแห่งเรื่องราวของบูดูสะท้อนกระบวนการประกอบสร้างชุมชนบูดูจินตกรรมขึ้น อันหมายถึง การที่บูดูแทรกตัวเข้าเป็นส่วนสำคัญของวัฒนธรรมกลุ่มชนมลายูทั้งในปตานีและตอนเหนือของมาเลเซีย และเป็นจุดอ้างอิงความทรงจำระลึกถึงให้กับคนมลายูปตานีพลัดถิ่น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารออนไลน์เล่มนี้เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวาระการเมืองและสังคม ความคิดเห็นและข้อถกเถียงที่ปรากฏในบทความเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน บรรณาธิการวารสารฯ ไม่มีความเกี่ยวข้องใด ๆ กับความคิดเห็นของผู้เขียนและไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความคิดเห็นของผู้เขียน
References
ภาษาไทย
ธโสธร ตู้ทองคำ. (2563). หน่วยที่ 5 ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ: การเก็บรวบรวมข้อมูลทางรัฐศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชาหลักเบื้องต้นของการวิจัยทางรัฐศาสตร์ (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พุมรี อรรถรัฐเสถียร. (2555). บูดูฮีเล: บูดูเลิศรสแห่งสายบุรี. วารสารรูสะมิแล, 33(1), 70-74.
อนุสรณ์ ลิ่มมณี. (2559). หน่วยที่ 1 พัฒนาการของแนวคิดและวิธีการศึกษาทางรัฐศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและวิธีการศึกษาทางรัฐศาสตร์ (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ภาษาอังกฤษ
Austin, J.L. (1962). How to Do Things with Words. Oxford: the Clarendon Press.
Barthes, R. (2013). Toward a Psychosociology of Contemporary Food Consumption. Food and Culture: A Reader (3rd ed.). Carole Counihan and Penny van Esterik, eds. NY: Routledge. 23-30.
Bourke, J.G. (1885). The Urine Dance of the Zuni Indians of New Mexico. Annual Meeting of the American Association for the Advancement of Science. Ann Arbor, MI.
Brillat-Savarin, J. A. (2011). The Physiology of Taste. (M.F.K. Fisher, Trans). MA: Courier Corporation.
Dirk, M. and Hunter, G. (2013). The Anthropology of Food. Routledge International Handbook of Food Studies. (Ken Albala, ed.) NY: Routledge.
Douglas, M. (1966). Purity and Danger: An Analysis of Concepts of Pollution and Taboo. Baltimore: Penguin Books.
_________. (1972). Deciphering a Meal. Daedalus, 101(1), 61-81.
_________. (1974). Food as an Art Form. Studio International, 83-88.
_________. (1977). The Future and the Past: Annual Report of the Russell Sage Foundation, 1976-77. NY: Russell Sage Foundation.
_________. (1984a). Food in the Social Order: Studies of Food and Festivities in Three American Communities. NY: Russell Sage Foundation.
_________. (1984b). Fundamental Issues in Food Problems. Current Anthropology, 25(4), 498-499.
Douglas, M. and Gross, J. (1981). Food and culture: Measuring the Intricacy of Rule Systems. Social Science Information, 20(1), 1-35.
Easton, D. (1970). the New Revolution in Political Science. Approaches to the Study of Political Science. Michael Haas and Henry S. Kariel (eds.). Scranton: Chandler.
Firth, R. (1934). The Sociological Study of Native Diet. Africa, 7(4), 401-414.
Fischer, E.F. and Benson, P. (2006). Broccoli & Desire: Global Connections and Maya. Stanford: Stanford University Press.
Fortes, M. and Fortes, S.L. (1936). Food in the domestic economy of the Talensi. Africa, 9,
-276.
Geertz, C. (1987). Deep Play: Notes on the Balinese Cockfight. Interpretative Social Science: A Second Look. Paul Rabinow and William M. Sullivan (eds.). Berkley and LA: University of California Press.
Goody, J. (1982). Cooking, Cuisine and Class. Cambridge: Cambridge University Press.
Holtzman, J. (2009). Uncertain Tastes: Memory, Ambivalence and the Politics of Eating in Samburu, Northern Kenya. Berkeley: University of California Press.
Mintz, S.W. (1985). Sweetness and Power: The Place of Sugar in Modern History. NY: Viking Penguin.
Mintz, S.W. and Du Bois, C.M. (2002). The Anthropology of Food and Eating. Annual Review of Anthropology, 31, 99-119.
Patton, M.Q. (1990). Qualitative Evaluation and Research Methods (2nd ed.). CA: Sage.
Richards, A. (1932). Hunger and Work in a Savage Tribe: A Functional Study of Nutrition Among the Southern Bantu. London: Routledge.
Schmidt, L.K. (2014). Understanding Hermeneutics. London: Routledge.
Smith, W.R. (1889). Lectures on the Religion of the Semites. NY: Appleton.
Sutton, D.E. (2001). Remembrance of Repasts: An Anthropology of Food and Memory. NY: Berg.
Tylor, E.B. (1865). Researches into the Early History of Mankind and the Development of Civilizatin. London: John Murray.
การสนทนาเฉพาะกลุ่มและสัมภาษณ์
กลุ่มผู้ประกอบการบูดูกำปงน้ำบ่อ. สนทนาเฉพาะกลุ่ม. ตำบลบ้านน้ำบ่อ อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี.
กุมภาพันธ์ 2564.
เด๊ะซะ (นามสมมติ). สัมภาษณ์ทางโทรศัพท์. 18 ธันวาคม 2563.