ทบทวนคำอธิบายว่าด้วยปัญหาไฟใต้เกิดจากความขัดแย้งทางการเมือง ผลประโยชน์ และธุรกิจผิดกฎหมาย: กรณีศึกษาความรุนแรงต่อนักการเมือง พ.ศ. 2547-2562 A Case Study of Violence against Politicians During 2004-2019
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาเรื่อง “ความรุนแรงต่อนักการเมืองในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (2547-2562): รูปแบบและปัจจัยของความรุนแรง” ที่ศึกษาปรากฏการณ์ความรุนแรงต่อนักการเมืองในพื้นที่โดยมีเป้าหมายเพื่อทบทวนคำอธิบายของรัฐไทยต่อสังคมที่ว่า สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีสาเหตุสำคัญมาจากความขัดแย้งทางการเมือง ผลประโยชน์ และธุรกิจผิดกฎหมายซึ่งมีนักการเมืองในพื้นที่เป็นตัวแสดงสำคัญที่อยู่เบื้องหลัง ผลการศึกษาพบว่า เมื่อวิเคราะห์ผ่านกรอบแนวคิดความรุนแรงต่อนักการเมืองอันมีสาเหตุจากการแย่งชิงผลประโยน์และอำนาจทางการเมือง พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้มีความถึงพร้อมของปัจจัยทั้งในระดับโครงสร้างและระดับปัจเจกบุคคลหลายประการเอื้อให้เกิดปรากฏการณ์ดังกล่าว อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาข้อมูลเชิงสถิติคำอธิบายข้างต้นกลับมีน้ำหนักน้อยเกินไปต่อการอธิบายว่าเป็นสาเหตุหลักของสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ ยิ่งไปกว่านั้น ข้อมูลเชิงสถิติยังบ่งชี้อีกว่าชุดคำอธิบายว่าด้วยสงครามแบ่งแยกดินแดนจะเป็นหนทางไปสู่ความเข้าใจสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาความไม่สงบในพื้นที่ที่ถูกปกปิดด้วยคำอธิบายเรื่องความขัดแย้งทางการเมือง ผลประโยน์ และธุรกิจผิดกฎหมาย
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารออนไลน์เล่มนี้เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวาระการเมืองและสังคม ความคิดเห็นและข้อถกเถียงที่ปรากฏในบทความเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน บรรณาธิการวารสารฯ ไม่มีความเกี่ยวข้องใด ๆ กับความคิดเห็นของผู้เขียนและไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความคิดเห็นของผู้เขียน
References
ข่าวสด. (12 เมษายน 2547ก). ยิงกำนัน-รตต.ฆ่าปาดคอ3ศพ. ข่าวสด. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/
shownews.php?news_id=6284 (สืบค้นเมื่อ 2 เมษายน 2563).
ข่าวสด. (21 พฤศจิกายน 2547ข). ปาบึ้มถล่ม6จุดป่วนปัตตานี. ข่าวสด. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/
shownews.php?news_id=14648 (สืบค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2563).
ข่าวสด. (15 พฤศจิกายน 2548). ฆ่าผัวเมีย 2 ศพหมายจับเพิ่ม 40 แก๊งยาเสพติดใต้. ข่าวสด. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=30367 (สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2563).
คมชัดลึก. (2 กุมภาพันธ์ 2548). มช. รับยิงหัวคะแนนทำเสียงหายวูบ. คมชัดลึก. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.
psu.ac.th/shownews.php?news_id=17304 (สืบค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม 2563).
คมชัดลึก. (7 เมษายน 2550). ศอ.บต.เร่งคัดเลือกกมธ.ร่วมแก้ไฟใต้ ปานเทพชี้ต้นตอเยาวชนถูกครอบงำ. คมชัดลึก. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=51627 (สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2563).
คมชัดลึก. (3 พฤษภาคม 2549). รวบ 5 โจรใต้ดักยิงเหยื่อฮึดสู้จนมุมเปิดเทอมวุ่นขาดครู. คมชัดลึก. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=37151 (สืบค้นเมื่อ 13 สิงหาคม 2563).
ณัฐกร วิทิตานนท์. (7 มีนาคม 2554). การลอบสังหาร” ในการเมืองท้องถิ่นไทย: ในรอบทศวรรษ (พ.ศ.2543- 2552). ประชาไท. เข้าถึงจาก https://prachatai.com/journal/2011/03/33416 (สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2562).
ไทยรัฐออนไลน์. (23 กรกฎาคม 2562). บุกยึดทรัพย์ สจ.นราฯ เอเย่นต์ค้ายาข้ามชาติรายใหญ่ มูลค่าร่วม 50 ล้าน. ไทยรัฐออนไลน์. เข้าถึงจาก https://www.thairath.co.th/news/local/south/1621135 (สืบค้นเมื่อ 24 เมษายน 2563).
ผู้จัดการออนไลน์. (21 มิถุนายน 2548ก). กอ.สสส.จชต. แถลงข่าวผ่านดาวเทียม เปิดโอกาสสื่อซักปัญหาไฟใต้. ผู้จัดการ. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=24059 (สืบค้นเมื่อ 29 มิถุนายน 2563).
ผู้จัดการออนไลน์. (15 ธันวาคม 2548ข). คงศักดิ์ยันไม่จัดฉากอ้างมีคนจ้องโจมตี – ยกคดี นัจมุดดีน สู้ทาง กม.ดีสุด. ผู้จัดการ. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=31845 (สืบค้นเมื่อ 29 มิถุนายน 2563).
ผู้จัดการออนไลน์. (9 ตุลาคม 2549). นราฯเข้มนำเด็ก-แรงงานต่างด้าวค้าประเวณี ย้ำเอาผิดตามกฎหมาย. ผู้จัดการ. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=43673 (สืบค้นเมื่อ 13 กันยายน 2563).
ผู้จัดการออนไลน์. (8 มีนาคม 2550ก). รวบเครือข่ายค้ายาข้ามชาติ จนท.ด่านเบตงสุดแสบร่วมขบวนการ. ผู้จัดการ. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=49804 (สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2563).
ผู้จัดการออนไลน์. (11 เมษายน 2550ข). พตท.แฉนักการเมืองท้องถิ่นค้ายาเสพติด-เป็นแนวร่วมป่วนใต้. ผู้จัดการ. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=51857 (สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2563).
ผู้จัดการออนไลน์. (10 เมษายน 2550ค). โฆษก ทบ. นำสื่อขึ้น ฮ.สำรวจม็อบบันนังสตา - ชี้คาร์บอมบ์นายก อบต.เขื่อนบางลาง เป็นฝีมือแนวฐานการเมืองนายกเก่า. ผู้จัดการ. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.
php?news_id=51781 (สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2563).
ผู้จัดการออนไลน์. (21 ธันวาคม 2555). เรียกข้าราชการ และลูกจ้าง อบต.บาเจาะ สอบเครียด มุ่งเผาทำลายเอกสาร. ผู้จัดการ. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=126929 (สืบค้นเมื่อ 8 ธันวาคม 2563).
มติชน. (31 กรกฎาคม 2547). บุกค่ายคนร้ายป่วนใต้เจอไม้เถื่อน. มติชน. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/
shownews.php?news_id=10279 (สืบค้นเมื่อ 24 เมษายน 2563).
มติชน. (25 พฤศจิกายน 2548). ผบทบ.ชี้ฆ่าตัดคอใต้แฟชั่นวัยรุ่น ระบุหน่วยอาร์เคเคอยู่เบื้องหลัง. มติชน. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=30878 (สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2563).
แม็กคาโก, ดันแคน. (2555). ฉีกแผ่นดิน: อิสลามและปัญหาความชอบธรรมในภาคใต้. (กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ).
รอมฎอน ปันจอร์. (2558). การเมืองของถ้อยคำในชายแดนใต้/ปาตานี: การประกอบสร้าง “สันติภาพ” ในความขัดแย้งชาติพันธุ์การเมือง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
รายการต่างคนต่างคิด. (2558). ตอน เปิดปม “คาร์บอมบ์สมุย” ใครได้-ใครเสีย?. อมรินทร์ทีวี. เข้าถึงจาก https://www.youtube.com /watch?v=8B6mlXIj Fzo (สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2562).
รุ่งรวี เฉลิมศรีภิญโญรัช. (2556). ถอดความคิดขบวนการเอกราชปาตานี. (ปัตตานี: โครงการจัดพิมพ์ deepbook).
สถานีโทรทัศน์ช่อง 7. (13 พฤศจิกายน 2548). ทลายเครือข่ายยาเสพติด หนุนก่อการร้ายได้. สถานีโทรทัศน์ช่อง 7. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=30299 (สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2563).
สถานีโทรทัศน์ช่อง 7. (21 ธันวาคม 2555). เผาอบต.บาเจาะ ทำลายหลักฐาน. สถานีโทรทัศน์ช่อง 7. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=126950 (สืบค้นเมื่อ 8 ธันวาคม 2563).
สถานีโทรทัศน์ช่อง 7. (3 พฤษภาคม 2549). ผู้ต้องหาที่ยิงสองสามีภรรยาชาวสวนยาง ที่ จ.นราธิวาส ให้การรับสารภาพแล้ว. สถานีโทรทัศน์ช่อง 7. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=37159 (สืบค้นเมื่อ 13 สิงหาคม 2563).
สถานีโทรทัศน์ไอทีวี. (23 กุมภาพันธ์ 2547). ยิงอดีตทหารค่ายอิงคยุทธคาบ้านพักในปัตตานี. สถานีโทรทัศน์ไอทีวี. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=4562 (สืบค้นเมื่อ 12 มีนาคม 2563).
สถานีโทรทัศน์ไอทีวี. (14 พฤศจิกายน 2548ก). มท.1ระบุผู้ต้องหายาเสพติดที่จับได้เกี่ยวไม่สงบใต้. สถานีโทรทัศน์ไอทีวี. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=30355 (สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2563).
สถานีโทรทัศน์ไอทีวี. (22 ธันวาคม 2548ข). พล.ต.อ.จุมพลชี้ปัจจัยป่วนนราฯมาจากการปราบยาเสพติด. สถานีโทรทัศน์ไอทีวี. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=32211 (สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2563).
สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (ช่อง 5). (6 มิถุนายน 2552). ผบ.สส.วอนขอเวลา จนท.ปฏิบัติงาน 3 จว. สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก (ช่อง 5). เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=79446 (สืบค้นเมื่อ 21 พฤศจิกายน 2563).
สำนักข่าวไทย. (11 กุมภาพันธ์ 2547). แฉแผนบึ้มใต้คลังแสงทหาร ทักษิณ โวยมีคนไม่ให้จบ. เอ็มเว็บนิวส์. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=4118 (สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2563).
สำนักข่าวไทย. (29 พฤษภาคม 2548). กอ.สสส.จชต.ชี้ผลสอบเหตุไม่สงบมีการฉวยโอกาสครึ่งหนึ่ง. โทรทัศน์ช่อง 9. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=22930 (สืบค้นเมื่อ 26 มิถุนายน 2563).
สำนักข่าวอิศรา. (24 สิงหาคม 2549). วิเคราะห์ต้นตอและทางออกเหตุไฟใต้ผ่านมุมทหารพิทักษ์ทรัพยากร. สำนักข่าวอิศรา. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=41844 (สืบค้นเมื่อ 6 กันยายน 2563).
ศูนย์ข่าวภาคใต้. (2 กันยายน 2561). ไม่พลิก! "บิ๊กเดฟ" นั่งแม่ทัพ 4 คนใหม่ กับความท้าทายในภารกิจดับไฟใต้. สำนักข่าวอิศรา. เข้าถึงจาก https://www.isranews.org/content-page/67-south-slide/69113-dave.html (สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2563).
เหมือนฝัน สงชัย. (23 กุมภาพันธ์ 2547). ขจก.แฉตัวแสบขายปืนพตอ.-พอ.ทักษิณคุ้ยแหลกปล้นปืน บิ๊กแอ๊ดยังกร้าวตาต่อตา. บ้านเมือง. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/shownews.php?news_id=4751 (สืบค้นเมื่อ 11 มีนาคม 2563).
อาหมัด รามันห์ศิริวงศ์, แวดาโอ๊ะ หะไร, และรอซิดะห์ ปูซู. (2 กันยายน 2552). มอเตอร์ไซค์บอมบ์ 2 ครั้งใน 2 วัน วิสามัญฯก๊วนอัมรัน มิงจับประธาน อบต.จ้างเผาโรงเรียน. สำนักข่าวอิศรา. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th
/shownews.php?news_id=82017 (สืบค้นเมื่อ 24 พฤศจิกาายน 2563).
เอกรินทร์ ต่วนศิริ. (2561). รายงานการวิจัย บทบาทนักการเมืองระดับท้องถิ่นในเขตพื้นที่ความรุนแรงของจังหวัดชายแดนภาคใต้. สนับสนุนโดยงบประมาณแผ่นดิน (แผนบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม) สำนักอธิการบดี วิทยาเขตปัตตานี.
INN. (1 กุมภาพันธ์ 2548). ล่ามือยิงอบจ.ยะลา หัวคะแนนพรรคมหาชน. INN. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.
th/shownews.php?news_id=17243 (สืบค้นเมื่อ 26 พฤษภาคม 2563).
INN. (4 ธันวาคม 2550). ฉก.สงขลา ปิดล้อมเขาแดง พบไม้เถื่อนอื้อ. INN. เข้าถึงจาก https://wbns.oas.psu.ac.th/show
news.php?news_id=62880 (สืบค้นเมื่อ 21 ตุลาคม 2563).
Prajak Kongkirati. (2013). Bosses, Bullets, and Ballots: Electoral Violence and Democracy in Thailand, 1975-2011. Ph.D. dissertation, The Australian National University.
Weber, Max, Gerth, H.H. & Mills, C. Wright, editor. (1946). From Max Weber: Essays in sociology. (New York: Oxford University Press).
ตำรวจ สังกัดหน่วยงานใน จ.ปัตตานี. (10 เมษายน 2564).