ในนามีข้าว ในนาข้าวมีคน บทสนทนาเบื้องต้นเกี่ยวกับชีวิตผู้คนปตานี ผ่านเรื่องราวของนาข้าว

Main Article Content

Arthit Thongin

Abstract

This academic article aims to explore the way of people’s life in the low land of Patani by using a dialogue method on the story of paddy fields. Based on the approach of anthropology of food and post-behavioral political science, the author conducted an interview and discussions with a number of relevant papers. The process leads to a preliminary dialogue about the web of relationship between people through stories about rice in three main areas: the nature of land uses for agriculture in Patani; the history of farming and; the social, economic, and political meanings reflected in the rice production process. These contents are mainly related to the areas of Waeng and Ruesoa district in Narathiwat province and Nong Chik distirct in Pattani province. The study results reflect that rice paddy land was being abandoned for rubber plantations with the disappearance of native rice varieties. The introduction of the irrigation system has significantly changed the way of rice farming in the area. Most farmers today still cultivate rice but with the main purpose of harvesting for household consumption and the rest is then sold to the main market in their own community.  

Article Details

How to Cite
Thongin, A. (2023). ในนามีข้าว ในนาข้าวมีคน: บทสนทนาเบื้องต้นเกี่ยวกับชีวิตผู้คนปตานี ผ่านเรื่องราวของนาข้าว . Journal of Political and Social Agenda, 2(1), 87–99. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/polsciPSU/article/view/264992
Section
Academic Articles

References

ภาษาไทย

กลุ่มงานบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน. แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน พ.ศ.2566-2570. https://www.osmsouth-border.go.th/files/com_news_develop/2021-12_56e525504ff7 cc5.pdf.

ทรัยนุง มะเด็ง, อับดุลเร๊าะมัน บาดา และวลัยลักษณ์ ทรงศิริ. (2553). ยาลอเป็นยะลา: ความเปลี่ยนแปลงของบ้านเมืองและคนรุ่นใหม่ในเมืองและปริมณฑลเมืองยะลา. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยแห่งชาติ.

พรพันธุ์ เขมคุณาศัย และกรุณา แดงสุวรรณ. (2560). การค้าข้าวข้ามรัฐของคนไทยมุสลิมในบริบทชายแดน ไทย - มาเลเซีย (พ.ศ.2489 - พ.ศ.2554). วารสารปาริชาต, 30(2), 145-167.

มะอีซอ โซมะดะ, งามพล จะปากิยา และวลัยลักษณ์ ทรงศิริ. (2553). เรื่องเล่าจากหมู่บ้านเชิงเขาบูโด: กรณีบ้านตะโหนด. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยแห่งชาติ.

มูฮำหมัดราพีร์ มะเก็ง. (2563). ชายแดนไทย-มาเลเซีย: เครือข่ายความสัมพันธ์ทางการค้าของผู้ค้ามลายูรายย่อย. วารสารการเมืองการปกครอง, 10(3), 40-62.

สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) ได้จัดทำโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมในภาคใต้ของประเทศไทย (STEP for SDGs). http://www.peacestudies.psu.ac.th/en/article/ activity-ips/57-sdgs-ips.html.

สำนักงานเกษตรและสหกรณ์ จังหวัดปัตตานี. (2566). แผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์จังหวัดปัตตานี (พ.ศ.2566-2570). https://www.opsmoac.go.th/pattani-strategic-files-441091791795.

อาทิตย์ ทองอินทร์. (2565). ในน้ำมีปลา: สายใยสัมพันธ์แห่งอาหารระหว่างผู้คนในปตานีสะท้อนผ่านเรื่องราวของบูดู. วารสารวาระการเมืองและสังคม, 1(2), 39-56.

สัมภาษณ์

ซะฮารี เจ๊ะหลง, ผู้ประกอบการนาข้าวและโรงสีชุมชน อำเภอหนองจิก. สัมภาษณ์ผ่านโปรแกรม Zoom. วันที่ 20 สิงหาคม 2564.