การถ่ายโอนบทบาทหน้าที่และโครงสร้างการบริหารระบบราชการ จากรัฐบาลส่วนกลางสู่รัฐบาลส่วนท้องถิ่นในราชอาณาจักรกัมพูชา

Main Article Content

ยุทธศาสตร์ หน่อแก้ว
ซุกเฮียง แมน

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษากระบวนการถ่ายโอนบทบาทหน้าที่และโครงสร้างการบริหารระบบราชการจากรัฐบาลส่วนกลางสู่รัฐบาลส่วนท้องถิ่นและ 2)เพื่อหาแนวทางเชิงนโยบายสำหรับแก้ไขปัญหาดังกล่าวในราชอาณาจักรกัมพูชา ผลการศึกษาพบว่า 1)การกระจายอำนาจจากรัฐบาลส่วนกลางสู่รัฐบาลส่วนท้องถิ่นในราชอาณาจักรกัมพูชาเป็นการกระจายอำนาจด้านงบประมาณการคลัง การปกครอง และการเมืองไปยังหน่วยงานในระดับท้องถิ่น แต่กระนั้นรัฐบาลท้องถิ่นก็ไม่สามารถตัดสินใจดำเนินภารกิจบางอย่างได้เองหรือในบางภารกิจอาจจะสามารถตัดสินใจเองได้บ้าง แต่ก็มีลักษณะเป็นการตัดสินใจได้เพียงบางเรื่องในบางช่วงเวลาเพียงเท่านั้น 2)การถ่ายโอนบทบาทหน้าที่จากรัฐบาลส่วนกลางไปสู่เทศบาลเมืองอำเภอและแขวงประกอบด้วย เทศบาลเมืองอำเภอแขวง (Khans) จำนวน 204 แห่ง และเทศบาลตำบล (Sangkats) จำนวน 1,652 แห่งซึ่งกระบวนการดังกล่าวเป็นการจัดระบบการกระจายอำนาจไปยังรัฐบาลส่วนท้องถิ่นที่มีลักษณะอย่างค่อยเป็นค่อยไปไม่ใช่การรื้อถอนโครงสร้างระบบราชการเดิมที่เคยมีอยู่ก่อนหน้านี้ แต่มุ่งเน้นการถ่ายโอนอำนาจให้หน่วยงานต่างๆ โดยเป็นการรวมเข้ามาไว้ด้วยกันอย่างบูรณาการ และ 3) “คณะกรรมการแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประชาธิปไตยไปสู่ส่วนท้องถิ่น”(NCDD) เป็นหน่วยงานที่ได้รับภารกิจสำคัญโดยตรงจากรัฐบาลส่วนกลาง เพื่อกระจายอำนาจไปยังกระทรวงและสถาบันต่างๆส่งผลต่อการดำเนินการถ่ายโอนบทบาทหน้าที่และโครงสร้างการบริหารระบราชการที่มีประสิทธิภาพสูงสุดไปให้กับรัฐบาลส่วนท้องถิ่นอย่างถาวรในอนาคต

Article Details

บท
Academic Articles

References

ภาษาไทย

กอเดช สมันดาโอะ. (2565). พัฒนาการการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่นไทย. วารสาร มจร เลยปริทัศน์, 3(1): 141-150.

ชวนัสถ์ เจนการ. (2552). การแปรรูปกิจการของรัฐไปยังภาคเอกชน (Privatisation) โอกาสหรือความเสี่ยงในการพัฒนากระบวนการยุติธรรมไทย. วารสารกระบวนการยุติธรรม, 2(1): 9-21.

ซุกเฮียง แมน และสุกัญญา เอมอิ่มธรรม. (2565). การปฏิรูปการกระจายอำนาจเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม: กรณีศึกษาราชอาณาจักรกัมพูชา. วารสารสมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แห่งประเทศไทย,

(พิเศษ): 130-153.

วัชรินทร์ อินทพรหม, วณิฏา ศิริวรสกุล และณัฏฐา เกิดทรัพย์. (2561). การกระจายอำนาจเปรียบเทียบประเทศเขตอนุภาคลุ่มแม่น้ำโขง. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 13(2): 390-401.

ศุภสวัสดิ์ ชัชวาล. (2555). การเมืองในกระบวนการกระจายอ านาจ: ศึกษาผ่านบทบาทของ นักวิชาการ ข้าราชการ นักการเมืองและประชาชน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุทธินันท์ สุวรรณวิจิตร และบุญเรือง เตชะวิวัฒน์กุล. (2564). การกระจายอำนาจการปกครอง. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 8(5): 123-134.

ภาษาอังกฤษ

Adekeye, J. A., Adeiza, S. U., & Otu, A. J. (2022). EMPIRICAL ANALYSIS OF ELECTORAL GOVERNANCE AND DECENTRALIZATION. Journal of Public Administration, Finance and Law, (23).

Ali, S., Nchaga, A., & Wepukhulu, J. (2021). DEVOLUTION AND SERVICE DELIVERY IN THE PUBLIC SERVICE IN KENYA, A CASE STUDY OF MARSABIT COUNTY GOVERNMENT. Journal of Human Resource and Leadership, 6(1).

Borisov, B., Parashkevova, E., Gospodinov, Y., & Stoyanova, M. (2022). THEORETICAL AND CONCEPTUAL ISSUES OF THE DECENTRALIZATION OF REGIONAL DEVELOPMENT POLICY. Proceedings of INTCESS 2022- 9th International Conference on Education & Education of Social Sciences.

Dick-Sagoe, C. (2020). Decentralization for improving the provision of public services in developing countries: A critical review. Cogent Economics & Finance, 8(1).

Isufaj, M. (2014). Decentralization and the Increased Autonomy in Local Governments. Procedia. Social and Behavioral Sciences, 104.

Muythong, K. (2007). Decentralization and deconcentration (FIrst Edition). Angkor book store.

Parker, A. (1995). Decentralization: The Way forward for Rural Development?. Policy Research Working Paper No. 1475, Washington, D.C.: The World Bank.

RGC. (2021). Decision No 31 of the Royal Government on the announcement of the date of the 5th Mandate Commune/Sangkat Council Election.

______. (2021). National Program on Sub-National Democratic Development, Phase 2 (NP2), 2021-2030. Royal Government of Cambodia (RGC).

Rodden, J. (2004). Comparative Federalism and Decentralization: On Meaning and Measurement. Comparative Politics, 36(4).

Rondinelli, D. A., Nellis, J. R., & Cheema, G. S. (1983). Decentralization in developing countries: A review of recent experience. World Bank.

Royal Government of Cambodia. (2012). Sub-decree no.68 on general process of transferring fuction and resource to local government. Royal Government of Cambodia (RGC).

______. (2019). Sub-decree No. 182 on functions and structure of municipal administrations—Sub-decree No. 182 on functions and structure of municipal administrations (English)—OD Mekong Datahub.

______. (2019). Sub-decree No. 183 on the functions and structure of khan administration of Phnom Penh capital—Sub-decree No. 183 on the functions and structure of khan administration of Phnom Penh capital (English)—OD Mekong Datahub.

______. (2019). Sub decree No. 184 on functions and structure of district administration-OD Mekong Datahub.

______. (2019). Sub-decree No. 193 on the assignment of health management function and health service delivery to the capital and province administration—Sub-decree No. 193 on the assignment of health management function and health service delivery to the capital and province administration (English)—OD Mekong Datahub.

______. (2021). Sub-Decree No. 150 on the establishment of Yeay Mao Pich Nil Commune, Phnom Sruoch District, Kampong Speu Province—Sub-Decree No. 150 on the establishment of Yeay Mao Pich Nil Commune, Phnom Sruoch District, Kampong Speu Province—OD Mekong Datahub.

Royal Krom. (2008). Law on Administrative Management of the Capital, Province, Municipalities, Districts and Khans. Ministry of Interior (MOI).

Setha, S. (2008). Situation Analysis of provincial/Municipal and District/Khan Administration in Cambodia. Ministry of Interior (MOI).

Sihamoni N. (2008). Royal decree NS/RKT/1208/1429 on establishment of national committee for democratic development (NCDD). Royal palace of Cambodia.