สมศักดิ์ เจียมธีรสกุลกับรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ -
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดและแนวการวิเคราะห์รัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไทย (พ.ศ. 2411-2475) ของสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล โดยมีเป้าหมายหลักคือการทบทวนงานเขียน การถอดบันทึกเสียงจากงานสัมนาและการบรรยายสอน หรือ บันทึกเสียงแนวคิดและการวิเคราะห์ ของสมศักดิ์ เจียมธีรสกุลที่เกี่ยวข้องกับรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไทย ผู้เขียนพบว่างานส่วนใหญ่ของสมศักดิ์ เจียมธีรสกุลนั้นไม่ได้เป็นการศึกษาลักษณะของรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์โดยตรง แต่เป็นความพยายามทำความเข้าใจลักษณะบางประการของรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ส่งผลต่อภาวะทางการเมืองและสถานะของสถาบันกษัตริย์ในช่วง พ.ศ. 2549-2559 ในที่นี้ผู้เขียนพบว่า มีอยู่ 3 ประเด็นด้วยกันคือ 1. extra economic coercion หรือ การกดขี่ด้วยเหตุผลที่นอกเหนือจากเรื่องเศรษฐกิจ ในแบบของกลุ่ม Political Marxist 2. การตั้งคำถามต่อบทบาทของชนชั้นกลางที่ไม่ได้มีบทบาทนำในการเรียกร้องการเปลี่ยนทางการเมือง ทั้งในลักษณะของกลุ่ม Marxist และกลุ่มทฤษฎี Modernization แต่กลับเป็นกลุ่มคนที่สนับสนุนให้ธำรงรักษาภาวะทางการเมืองที่ไม่เป็นประชาธิปไตย 3. กฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบสันตติวงศ์ ที่กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของรัฐธรรมนูญไทยและอำนาจของฝ่ายรัฐสภาก็มิสามารถเปลี่ยนแปลงได้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารออนไลน์เล่มนี้เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวาระการเมืองและสังคม ความคิดเห็นและข้อถกเถียงที่ปรากฏในบทความเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน บรรณาธิการวารสารฯ ไม่มีความเกี่ยวข้องใด ๆ กับความคิดเห็นของผู้เขียนและไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับความคิดเห็นของผู้เขียน
References
ภาษาไทย
ฉัตรทิพย์ นาภสุภา และคณะ. 2524. เศรษฐกิจกับประวัติศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สร้างสรรค์.
ทวีศิลป์ สืบวัฒนะ. ปีที่ 9 ฉบับที่ 1. 2522. "ความพยายามของเจ้านายไทยในการลงทุนทางเศรษฐกิจ: ศึกษาเฉพาะกรณี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์" วารสารธรรมศาสตร์, น. 99-119.
ธงชัย วินิจจะกูล. ปีที่ 9 ฉบับที่ 2, 2554. "มรดกรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์". ฟ้าเดียวกัน, น. 44-58
ธนภาษ เดชพาวุฒิกุล. ปีที่ 19 ฉบับที่ 1, 2564. "การกลับคืนของ ปากไก่และใบเรือ และการอ่านในสังคมที่เปลี่ยนแปลง". ฟ้าเดียวกัน, น. 245-291.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. 2555. ปากไก่และใบเรือ: รวมความเรียงว่าด้วยวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ต้นรัตนโกสินทร์. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.
ปวงชน อุนจะนำ. 2565. ทุนนิยมเจ้า: ชนชั้น ความมั่งคั่ง และสถาบันกษัตริย์ในประเทศไทย, นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.
พรรณี บัวเล็ก. 2545. ลักษณะของนายทุนไทยในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2457-2482: บทเรียนจากความรุ่งโรจน์สู่โศกนาฏกรรม, กรุงเทพฯ: พันธกิจ.
ฟ้าเดียวกัน. 2553, ปีที่ 8 ฉบับที่ 1, มกราคม-กันยายน, น. 198-206.
วันพัฒน์ ยังมีวิทยา. 2565, "สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล กับการแตกหักกับความคิดแบบปัญญาชน 6 ตุลา" วารสารฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 20 ฉบับที่ 2. น. 151-198.
ศุภมิตร ปิติพัฒน์, และ สมบัติ จันทรวงศ์. 2554. บทวิพากษ์ธรรมวิทยาแห่งพลเมืองของประกาศกปัญญาชนไทยร่วมสมัย: เกษีตร เตชะพีระ, ธงชัย วินิจจะกูล และ สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล, โครงการวิจัยชุดของ สกว. เรื่อง “วิกฤตความแตกแยกของธรรมวิทยาแห่งพลเมือง: การศึกษาการประกาศธรรมของประกาศกร่วมสมัย”
สมเกียรติ วันทะนะ. 2533, "รัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในสยาม 2435-2475" วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ปีที่ 17 ฉบับที่ 1. น. 23-44.
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. 2525, "สังคมไทยจากศักดินาสู่ทุนนิยม" วารสารธรรมศาสตร์, ปีที่ 11 ฉบับที่ 2., น. 128-164.
———. 2544. ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง: รวมบทความเกี่ยวกับกรณี 14 ตุลาและ 6 ตุลา โดยสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. กรุงเทพฯ: 6 ตุลารำลึก.
———. 2549ข. "ในหลวงอานันท์ขึ้นครองราชย์ตามลำดับขั้นของกฎมณเฑียรบาลหรือเพราะปรีดีสนับสนุน? (1)" ฟ้าเดียวกัน, น. 188-228.
———. 2556ข. "Mass Monarchy" ฟ้าเดียวกัน, น. 107-118.
———. 2565, "ทำไมคนไทยเชื้อสายจีนจึงไม่กล้าแตะต้องสถาบันกษัตริย์" วารสารฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 20 ฉบับที่ 2. น. 201-203.
สิทธิเทพ เอกสิทธิ์พงษ์. 2564. เขียนจีนให้เป็นไทย, กรุงเทพฯ: มติชน.
ภาษาอังกฤษ
Anderson. 1974. Perry. Lineages of the Absolutist State. London: NLB.
Berend, Ivan. 2003. History Derailed: Central and Eastern Europe in the Long Nineteenth Century. Berkeley: University of California Press.
Chaiyan Rajchagool. 1994. The Rise and Fall of the Thai Absolute Monarchy: Foundation of the Modern Thai State from Feudalism to Peripherical Capitalism. Bangkok: White Lotus.
DeJung, Christof and Motadel, David, et al. 2019. The Global Bourgeoisie: The Rise of the Middle Classes in the Age of Empire. New Jersey: Princeton University Press.
Kasian Tejapira. 2009, "The misbehaving jeks: the evolving regime of Thainess and Sino-Thai challenges" Asian Ethnicity, Vol. 10, Issue 3., p. 263-283.
———. 2022, "Disguised Republic and Virtual Absolutism: Two inherent conflicting tedencies in the Thai Constitutional Monarchy". Keynote Speech No. 3, CSEAS 14th International Conference on Thai Stuides.
Kullada Kesbooncho Mead. 2004. The Rise and Decline of Thai Absolutism. Abingdon, UK: RoutledgeCurzon.
Loos, Tamara. 2006. Subject Siam: Family, Law, and Colonial Modernity in Thailand. Chiang Mai, Thailand: Silkworm Books.
Mayer, Arno. 1981. The Persistence of the Old Regime. New York: Pantheon Books.
Peleggi, Maurizio. 2002. Lords of Things: The Fashioning of the Siamese Monarchy’s Modern Image. Honolulu, HI: University of Hawai’I Press.
Somsak Jeamteerasakul. 1991. “The Communist Movement in Thailand”. PhD Thesis, Monash University
แหล่งออนไลน์
ฟ้าเดียวกัน. “จากพฤษภาประชาธรรมถึงรัฐประหารเพื่อประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข”. 28 มกราคม 2557< https://www.youtube.com/watch?v=t4byLIQkyGA&t=2987s> (เข้าถึงวันที่ 18 สิงหาคม 2566).
ฟ้าเดียวกัน. “การสอนวิชาประวัติศาสตร์รัสเซียครั้งสุดท้ายของสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล”. ตอนที่ 1-10 (17 มิถุนายน- 9 กันยายน 2557)<https://www.youtube.com/watch?v=S5Be19Pa3Rk&list=PLDFfyBdqd31SFF2qyezEY0o_31sp-Ixac&index=1> (เข้าถึงวันที่ 7 สิงหาคม 2566).
เฟซบุ๊ก Somsak Jeamteerasakul <https://www.facebook.com/somsakjeam> (เข้าถึงวันที่ 16 พศจิกายน 2566).
PITVNEWS. “เก่งกิจ กิติเรียงลาภ: สัมมนา ‘หลัง 14 ตุลา’: ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ”. 9 ตุลาคม 2556<https://www.youtube.com/watch?v=DvGx8sDPNsY&list=PLmzr-pvNErI-6yJKzsfwFWezAymJmRbuM&index=3&t=8506s> (เข้าถึงวันที่ 18 สิงหาคม 2566).