ข้อเสนอเชิงนโยบายจากงานวิจัยกับการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประเทศไทย

Main Article Content

โชติ ถาวร

บทคัดย่อ

บทความนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์ข้อเสนอที่ค้นพบจากงานวิจัยเกี่ยวกับจังหวัดชายแดนภาคใต้  2) เพื่อนำเสนอเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้  
โดยใช้แหล่งข้อมูลจากเอกสารงานวิจัย วิทยานิพนธ์ รวมทั้งบทความวิจัย ของสถาบันการศึกษาและหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2550 - 2565 จำนวน 12 เรื่อง ผลการศึกษา พบว่า ข้อเสนอจากงานวิจัย  ที่ทำการศึกษากับการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ การกระจายอำนาจ การปกครองตนเอง การจัดการตนเอง การปกครองท้องถิ่น การทำงานแบบบูรณาการของหน่วยงาน
ในพื้นที่ และการสร้างสังคมพหุวัฒนธรรม ประโยชน์ที่ได้จากข้อค้นพบจากข้อเสนอของงานวิจัยดังกล่าว คือ รัฐบาลควรนำข้อเสนอเชิงนโยบายจากงานวิจัยดังกล่าวไปเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างจริงจัง โดยเฉพาะการจัดการตนเอง และการปกครองระดับหมู่บ้านและชุมชน

Article Details

บท
Research Articles

References

ภาษาไทย

กมล กมลตระกูล. (2551). งานวิจัยเรื่องแนวทางการเสริมสร้างสันติภาพในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

ในมุมมองของผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรง. สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.

คณะกรรมาธิการวิสามัญติดตาม เร่งรัด ประเมินผลการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ วุฒิสภา .(2554). รายงานผลการติดตามเร่งรัด ประเมินผลการแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ วุฒิสภา. สำนักกรรมาธิการวุฒิสภา 2 สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.

โคทม อารียา. (2017). ข้อเสนอการแปลงเปลี่ยนความขัดแย้งชายแดนใต้ผ่านการผสมผสานวัฒนธรรมและ

การปกครองท้องถิ่น. วารสารสิทธิและสันติศึกษา. 3(1), 109-140.

ชัยพงษ์ สำเนียง. (2558). ประวัติศาสตร์ของกบฏ กบฏของประวัติศาสตร์: กบฏเงี้ยวเมืองแพร่. ศิลปวัฒนธรรม. 36 (9) สืบค้นเมื่อ 25 กันยายน 2566 จาก http://www.silpa-mag.com/history.

ดวงหทัย บูรณเจริญกิจ ประกีรติ สัตสุด และรักชาติ สุวรรณ. (2562). การเริ่มต้นส่งเสียงต่อรองกับกระบวนการสันติภาพของชาวพุทธในจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 11(1), 150-178.

ธงชัย วินิจกูล. (2556). กำเนิดสยามจากแผนที่ ประวัติศาสตร์ภูมิกายาของชาติ (Siam Mapped

A History of the Geo-body of a Nation). กทม.: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ์. (2549). ความเป็นมาของทฤษฏีแบ่งแยกดินแดนในภาคใต้ไทย. กทม.: โครงการเอเซียตะวันออกเฉียงใต้.

พิรนันท์ จารง บุญทัน ดอกไธสง และวิมล หอมยิ่ง. (2558). บทความวิจัยเรื่องประสิทธิผลการนำสันติสุขกลับคืนถิ่นจังหวัดชายแดนภาคใต้.สักทอง: วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (สท.มส.) 21 (3), 160-169.

มาร์ค ตามไท. (2563). สานฝันปาตานี โดยไม่ใช้ความรุนแรง: การวิเคราะห์จากบทสนทนาเพื่อสร้าง

จินตภาพใหม่. กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

แลต๊ะแลใต้. (2565). เสียงจากชายแดนใต้: 18 ปี กับการแก้โจทย์ความยากจนที่ลงไม่ถึงราก.

สืบค้นเมื่อ 25 กันยายน 2566 จาก https://the citizen plus.

วีรญา อังศุธรถาวริน และจอมเดช ตรีเมฆ. (2561). การศึกษาวิจัยการลดความเสี่ยงและความสูญเสียในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในเขตพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารกระบวนการยุติธรรม. 11(2), 121-132.

วิลาสินี โสภาพล (2022) มองพหุวัฒนธรรมผ่านมิติความมั่นคงในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้.

Journal of Human Right and Peace Studies. 8(1), 111-135.

ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี และสุกรี หลังปูเต๊ะ. (2551). “การปกครองท้องถิ่นแบบพิเศษในจังหวัดชายแดนภาคใต้” รายงานโครงการวิจัยการปกครองท้องถิ่นในจังหวัดที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์. ศูนย์ศึกษาและพัฒนาสันติวิธี มหาวิทยาลัยมหิดล.

สถาบันพระปกเกล้า. (2551). เอกสารสรุปการสัมมนาเวทีท้องถิ่น ประจำปี 2553 ครั้งที่ 1

เรื่องท้องถิ่นร่วมคิดเพื่อคุณภาพชีวิตพี่น้อง 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้.

สมบัติ โยธาทิพย์ และคณะ. (2554). การพัฒนาการศึกษา เศรษฐกิจ และสังคมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในสถานการณ์ความไม่สงบ. มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

อัลดุลเราะมัน มอลอ คัมภีร์ ทองพูน และหมันเฟาซี รูบามา. (2561). “4 ปี คสช. ในการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ : มุมมองนักวิชาการสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่” การประชุมวิชาการระดับชาติ วันสันติภาพสากล ครั้งที่ 3 “ศาสนากับสันติภาพ” .สถาบันสันติภาพศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

อาทิตย์ ทองอินทร์ และตูแวดานียา ตูแลแมแง. (2563). งานวิจัยความคิดและปฏิบัติการทางการเมืองของผู้คนในพื้นที่สีแดง.สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.).

แอนเดอร์สัน, เบน. (2557). ชุมชนจินตกรรม บทสะท้อนว่าด้วยกำเนินและการแพร่ขยายของชาตินิยม.

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ บรรณาธิการแปล พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.