ว่าด้วย “คน” ในการจัดการภัยพิบัติ

Main Article Content

ณัฐวีร์ พุ่มระชัฏร์

บทคัดย่อ

ชื่อหนังสือ “คน” ท้องถิ่น ในงาน “ปภ.” : การบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้านภารกิจป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย


ผู้เขียน กานต์รวี วิชัยปะ


ปีที่พิมพ์ 2566


จัดพิมพ์โดย คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


The important factor, however, is that the format should indicate that disaster and managing it is a continuum of interlinked activity. It is not a series of events which start and stop with each disaster occurrence.” (Carter, W. Nick, 2008: 49)


 


          สถานการณ์ภัยพิบัติ หากแบ่งอย่างง่ายก็จะเห็นภัยพิบัติในบริบทสากลและภัยพิบัติในบริบทของสังคมไทย ซึ่งทั้งสองบริบทนี้เองล้วนมีจุดร่วมกันประการหนึ่งคือแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นของภัยประกอบกับความรุนแรงของภัยที่ดูจะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นกว่าในอดีต สภาพการณ์นี้เองที่นำมาสู่ความท้าทายประการสำคัญที่จะกลายเป็นโจทย์อันสลับซับซ้อนในสภาพภัยที่ถาโถมอย่างกระหน่ำ นับเป็นความท้าทายอย่างแข็งขันว่าเราจะสร้างองค์ความรู้ตลอดจนกระทั่งเทคนิควิธี รวมไปถึงการออกแบบการบริหารภัยพิบัติทั้งในเชิงโครงสร้างและไม่ใช่เชิงโครงสร้างในโลกร่วมสมัยในแนวทางใดและอย่างไรบ้างเพื่อที่จะป้องกันและรับมือกับสภาวการณ์ภัยพิบัติที่อุบัติขึ้นจากธรรมชาติอันอยู่เหนือการควบคุมของมนุษย์

Article Details

บท
Book Review

References

ภาษาไทย

กานต์รวี วิชัยปะ. (2562). สมรรถนะ กับ พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. รัฐศาสตร์สาร, 40(2), 80-99.

กานต์รวี วิชัยปะ. (2564). การสร้างสมรรถนะเฉพาะภัยในการปฏิบัติงานการลดความเสี่ยงภัยพิบัติแผ่นดินไหวอาคารถล่มสำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. Local Administration Journal, 14(3), 269-290.

กานต์รวี วิชัยปะ. (2566). “คน” ท้องถิ่น ในงาน “ปภ.” : การบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้านภารกิจป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. ปทุมธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ภาษาอังกฤษ

Carter, W. Nick. (2008). Disaster Management A Disaster Manager’s Handbook. Mandaluyong City: Asian Development Bank.

Kanrawee Wichipa. (2020). A Study of Disaster Management Competency and Indicators in Thailand’s Local Administration. In Asian Review. 33(2), pp. 3–33.