หมอพื้นบ้านกับการรักษาโรคไร้เชื้อเรื้อรัง ความจริงอันหลากหลายและการเมืองเชิงภววิทยาของการแพทย์สมัยใหม่กับการแพทย์พื้นบ้าน

Main Article Content

ชัชชล อัจนากิตติ

บทคัดย่อ

บทความชิ้นนี้ศึกษาพลวัตของความรู้การปฏิบัติทางการแพทย์ของหมอพื้นบ้านในจังหวัดสงขลาที่ทำการรักษาเยียวยาโรคไร้เชื้อเรื้อรัง ได้แก่ โรคไต โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง การติดตามและสังเกตการณ์ชีวิตประจำวันของหมอพื้นบ้านแสดงให้เห็นความเปลี่ยนแปลงของความรู้และการปฏิบัติของหมอพื้นบ้านที่พยายามแปลความรู้ทางการแพทย์แผนโบราณเข้ากับการแพทย์สมัยใหม่ พร้อม ๆ กันกับการที่วัตถุสิ่งของต่าง ๆ เช่น ยาสมุนไพรและอุปกรณ์ทางการแพทย์ เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างความจริงอันหลากหลายทางการแพทย์และการเมืองเชิงภววิทยาที่ส่งผลให้การดำรงอยู่ของการแพทย์พื้นบ้านไม่ได้เป็นอื่นหรือแยกขาด แต่กลับมีความสัมพันธ์ที่สลับซับซ้อนกับการแพทย์สมัยใหม่และการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโรคในปัจจุบัน

Article Details

บท
Academic Articles

References

ภาษาไทย

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. 2559. รายงานการสาธารณสุขไทย ด้านการแพทย์

แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก 2557-2559. นนทบุรี: กรมพัฒนาการแพทย์

แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. 2562. “มานุษยวิทยาการแพทย์ในศตวรรษที่ 21: การเปลี่ยนแปลงและความท้า

ทาย.” ใน อยู่ดี กินดี มีสุข: มิติทางสังคมและวัฒนธรรมของสุขภาพ; รวมบทความจากการประชุม

วิชาการทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ 12 พ.ศ.2560, บรรณาธิการโดย ปณิตา สระวาสี, 1-68. กรุงเทพฯ:

ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.

ชัชชล อัจนากิตติ. 2561. “หมอพื้นบ้านในยุคโรคไร้เชื้อเรื้อรัง.” วิทยานิพนธ์สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

มหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ณัฐกาณกุล ขัตติยะ. 2550. “การแพทย์พื้นบ้านและการดูแลรักษาโรคของชาวเผ่าลัวะบ้านใหม่สัญเจริญ:

กรณีศึกษาบ้านใหม่สัญเจริญ ตำบลป่าถึง อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย.” วิทยานิพนธ์สังคมวิทยา

และมานุษยวิทยามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐยา สมะเวียง. 2558. “การแพทย์พื้นบ้านกับการเยียวยารักษาความเจ็บป่วยทางจิตใจในสังคมไทย

ภาคเหนือ.” วิทยานิพนธ์สังคมศาสตร์มหาบัณฑิต (การพัฒนาสังคม), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ธรนัส ทองชูช่วย. 2555. “ภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้านในด้านการใช้ยาสมุนไพรในการรักษาโรคของอําเภอ

บางกล่ํา จังหวัดสงขลา.” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (ยุทธศาสตร์การพัฒนา), มหาวิทยาลัย

ราชภัฏสงขลา.

บุษราคัม ศรีทาเวช. 2556. “ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านของกลุ่มชาติพันธ์บรูบ้านท่าล้ง ตําบลห้วยไผ่ อําเภอ

โขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี.” วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (สังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา),

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

ประเสริฐ ธนกิจจารุ. 2558. “สถานการณ์ปัจจุบันของโรคไตเรื้อรังในประเทศไทย.” วารสารกรมการแพทย์,

(5): 5-17.

พรปรวีณ์ จันทร์อุไร. 2556. “การบริโภคสมุนไพร: อัตลักษณ์และอํานาจในตนในการดูแลสุขภาพของคน

เมือง.” วิทยานิพนธ์สังคมศาสตร์มหาบัณฑิต (สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข),

มหาวิทยาลัยมหิดล.

พนิดา ใหญ่ธรรมสาร และอรัญญา ศรีบุษราคัม. 2548. “อินทนิลน้ำกับฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือด.” จุลสารข้อมูล

สมุนไพร, 23(1): 8-11.

วีรวุฒิ อิ่มสำราญ และคณะ. 2557. “โรคมะเร็ง (cancer).” ใน Thailand Medical Services Profile 2011-

(การแพทย์ไทย 2554-2557). นนทบุรี: กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการดูแลผู้เป็นโรคเรื้อรัง วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี. 2558. คู่มือการจัดการ

ตนเองเพื่อควบคุมโรคเบาหวาน. ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย. 2558. แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป.

ม.ป.ท.: ม.ป.พ.

สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย. 2558. คำแนะนำสำหรับการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังก่อนการบำบัดทดแทนไต

พ.ศ.2558. กรุงเทพฯ: สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย.

สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย. 2560. แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2560. ปทุมธานี: บริษัท

ร่มเย็น มีเดีย จำกัด.

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค. 2560. แผนยุทธศาสตร์การป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อระดับชาติ 5 ปี

(พ.ศ.2560 – 2564). กรุงเทพฯ: บริษัท อีโมชั่น อาร์ต จำกัด.

โอภาส ชามะรัตน์. 2548. “ภูมิปัญญาหมอพื้นบ้านกับการใช้สมุนไพรบําบัดรักษาความเจ็บป่วย กรณีศึกษา

นายแวว วงศ์คําโสม บ้านโคนผง ตําบลสานตม อําเภอภูเรือ จังหวัดเลย.” ใน ภูมิปัญญาสุขภาพ:

ปฏิบัติการต่อรองของความรู้ท้องถิ่น, บรรณาธิการโดย ดาริน อินเหมือน, 121-154. กรุงเทพฯ:

ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.

ภาษาอังกฤษ

Latour, Bruno. 1987. Science in action: How to follow scientists and engineers through society: Harvard university press.

Latour, Bruno. 1996. On actor-network theory. A few clarifications plus more than a few

complications. Soziale Welt, 47, 369-381.

Mol, Annemarie. 1999. “Ontological politics. A word and some questions.” Sociological

Review, 47(1): 74-89.

Mol, Annemarie. (2002). The body multiple: ontology of medical practice. America: Duke

University Press.

Petryna, Adriana. 2009. When experiments travel: clinical trials and the global search of

human subject. UK: Princeton University Press.

Pitiporn, Supaporn. 2004. “Consumerism and herbal product consumption: A case study of

ABHAIBHUBEJHR herbal products.” Phd Thesis (medical and health social sciences),

Mahidol University.

World Health Organization. 2017. Ten years in public health 2007-2017. Italy: World Health

Organization.

Zhan, mei. 2009. Other-worldly: Making Chinese medicine through transnational frames.

Durham and London: Duke University Press.

ออนไลน์

ผู้จัดการออนไลน์. 2557. “คิดเห็นเป็นทาง: โรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยฯ ทางเลือกใหม่ของผู้ป่วย.”

ผู้จัดการออนไลน์, 3 เมษายน 2557. สืบค้นวันที่ 15 พฤษภาคม 2563.

http://www.manager.co.th/Dhamma/ViewNews.aspx?NewsID=9570000036696

Medthai. 2561. “การตรวจ Albumin (อัลบูมิน) ในเลือดคืออะไร?.” สืบค้นวันที่ 15 พฤษภาคม 2563.

https://medthai.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%88-albumin/

Muslimphilosophy. 1998. “The primacy of existence.” Accessed May 15, 2020.

http://www.muslimphilosophy.com/ip/rep/H027.htm

Siriraj E-public Library. 2553. “ฮอร์โมนอินซูลิน.” สืบค้นวันที่ 15 พฤษภาคม 2563.

https://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=47&id=47

Wiktionary. 2019. “Hikmah.” Accessed May 15, 2020. https://en.wiktionary.org/wiki/hikmah