<b>สมการการผลิต ต้นทุน และผลตอบแทนจากการปลูกยางพาราของเกษตรกรจังหวัดสุราษฎร์ธานี</b><br> Production Function, Cost and Benefit of Hevea Brasiliensis Farming in Surat Thani

ผู้แต่ง

  • อนุมาน จันทวงศ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี<b>สมการการผลิต ต้นทุน และผลตอบแทนจากการปลูกยางพาราของเกษตรกรจังหวัดสุราษฎร์ธานี</b><br> Production Function, Cost and Benefit of Hevea Brasiliensis Farming in Surat Thani

บทคัดย่อ

The objective of this research was to study the production function, efficiency of Hevea Brasiliensis farming investment including establishment of database with regard to agriculturists in Suratthani Province. Collection of data is executed via questionnaires from 399 agriculturists; Collection of data is obtained from three parts as follows: 1.133 Hevea Brasiliensis agriculturist with area less than 10 rais, 2. 133 Hevea Brasiliensis agriculturist area between 10 - 20 rais and 133 Hevea Brasiliensis agriculturist area 20 rais upwards and in depth interview Hevea Brasiliensis stakeholder 30 persons.
The outcome of study can be concluded as follow: The analysis of Cobb - Douglas’s product function with area less than 10 rai revealed that factors significantly affecting Hevea Brasiliensis production were number of organic fertilizer number of harvest anticeptic and Hevea Brasiliensis tree Economy of scale Hevea Brasiliensis production function is diminishing return toscale. The analysis of
Cobb - Douglas’s product function with area between 10 - 20 rai revealed that factors significantly affecting Hevea Brasiliensis production were number of harvest and labor and Economy of scale Hevea Brasiliensis production function is increasing return to scale and The analysis of Cobb- Douglas’s product function with area 20 rai upwards revealed that factors significantly affecting Hevea Brasiliensis production was rain water Economy of scale Hevea Brasiliensis production function is diminishing return to scale. The results of the study suggest that agriculturist should added factor of production . it brings to suitable economic efficiency .Moreover The analysis of net present value areas less than 10 rai was 309,290 baht , areas between 10 - 20 rai was 309,368 baht and areas 20 rai upwards was 322,432 baht. The analysis of Benefit cost Ratio areas less than 10 rai was 3.04 , areas between 10 - 20 rai was 3.04 and areas 20 rai upwards was 3.12 and Internal rate of return areas less than 10 rai was 23.83 % , areas between 10 - 20 rai was 23.84 % and areas 20 rai upwards was 24.00 % respectively.
<br><br>Keywords: cost and return, efficiency of production, Hevea Brasiliensis Farming,
production function


<br><br>
<b> บทคัดย่อ</b><br>
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการผลิต สมการการผลิตและประสิทธิภาพของการใช้ปัจจัยการผลิต ต้นทุนและผลตอบแทนจากการปลูกยางพาราในพื้นที่จังหวัด สุราษฎร์ธานี โดยการศึกษาครั้งนี้ใช้ข้อมูลจากแบบสอบถามเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราในจังหวัดสุราษฏร์ธานี จ&#1048782;ำนวน 399 ราย แบ่งเป็นเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราพื้นที่น้อยกว่า 10 ไร่ จ&#1048782;ำนวน 133 ราย เกษตรกรผู้ปลูกยางพาราพื้นที่ระหว่าง 10 -20 ไร่ จ&#1048782;ำนวน 133 ราย และ เกษตรกรผู้ปลูกยางพาราพื้นที่มากกว่า 20 ไร่ จ&#1048782;ำนวน 133 ราย และท&#1048782;ำการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจยางพาราจ&#1048782;ำนวน 30 ราย
มีผลการศึกษาโดยสรุปดังนี้ ผลการวิเคราะห์สมการการผลิตพื้นที่ปลูกยางพาราน้อยกว่า 10 ไร่ มีปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อปริมาณผลผลิตยางพาราอย่างมีนัยส&#1048782;ำคัญประกอบด้วย 4 ปัจจัยด้วยกัน คือ การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ จ&#1048782;ำนวนเดือนที่กรีดยาง การใช้ยาปราบศัตรูพืช และการใช้ยาควบคุมโรค การผลิตยางพาราอยู่ในระยะผลตอบแทนต่อขนาดลดลง สมการการผลิตพื้นที่ปลูกยางพาราระหว่าง 10 -20 ไร่ มีปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อปริมาณผลผลิตยางพาราอย่างมีนัยส&#1048782;ำคัญประกอบด้วย 2 ปัจจัยด้วยกัน คือ จ&#1048782;ำนวนเดือนที่กรีดยาง และจ&#1048782;ำนวนแรงงาน การผลิตยางพาราอยู่ในระยะผลตอบแทนต่อขนาดเพิ่มขึ้น สมการการผลิตพื้นที่ปลูกยางพารามากกว่า 20 ไร่ มีปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อปริมาณผลผลิตยางพาราอย่างมีนัยส&#1048782;ำคัญ 1 ปัจจัย คือ ปริมาณน&#1048782;้ำฝน การผลิตยางพารา อยู่ในระยะผลตอบแทนต่อขนาดลดลง การวัดประสิทธิภาพของการใช้ปัจจัยการผลิต ผลผลิตเพิ่มของปัจจัยการผลิตพื้นที่ปลูกยางพาราระหว่าง 10 – 20 ไร่ อยู่ในระยะผลตอบแทนต่อขนาดเพิ่มขึ้น ส่วนพื้นที่ปลูกยางพาราน้อยกว่า 10 ไร่ และมากกว่า 20 ไร่ อยู่ในระยะผลตอบแทนต่อขนาดลดลง ด้านการวิเคราะห์ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ พบว่า เกษตรกรผู้ปลูกยางพาราทั้ง 3 กลุ่ม เพิ่มปริมาณ ปัจจัยการผลิต เพื่อท&#1048782;ำให้การใช้ปัจจัยการผลิตยางพารา อยู่ในระดับที่เหมาะสมทางเศรษฐกิจ มูลค่าปัจจุบันของผลตอบแทนสุทธิของโครงการ ของเกษตรกรพื้นที่ปลูกยางพาราน้อยกว่า 10 ไร่ มีค่าเท่ากับ 309,290 บาท เกษตรกรพื้นที่ปลูกยางพาราระหว่าง 10 – 20 ไร่ มีค่าเท่ากับ 309,368 บาท และเกษตรกรพื้นที่ปลูกยางพารามากกว่า 20 ไร่ มีค่าเท่ากับ 322,432 บาท ส&#1048782;ำหรับอัตราผลประโยชน์ต่อต้นทุน (BCR) เกษตรกรพื้นที่ปลูกยางพาราน้อยกว่า 10 ไร่ มีค่าเท่ากับ 3.04 เกษตรกรพื้นที่ปลูกยางพาราระหว่าง 10 -20 ไร่ มีค่าเท่ากับ 3.04 และเกษตรกรพื้นที่ปลูกยางพารามากกว่า 20 ไร่มีค่าเท่ากับ 3.12 ส่วนอัตราผลตอบแทนภายในโครงการ พื้นที่ปลูกยางพาราน้อยกว่า 10 ไร่ เท่ากับร้อยละ 23.83 พื้นที่ปลูกยางพาราระหว่าง 10 -20 ไร่ เท่ากับร้อยละ 23.84 และพื้นที่ปลูกยางพารามากกว่า 20 ไร่ เท่ากับร้อยละ 24.00
<br><br> คำสำคัญ: ต้นทุนและผลตอบแทน, ประสิทธิภาพ
การผลิต, ยางพารา, สมการการผลิต

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2015-03-01