การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาพฤติกรรมจริยธรรมในรายวิชาศึกษาทั่วไป

Main Article Content

เกศินี วุฒิวงศ์

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอวิธีสอนเพื่อพัฒนาพฤติกรรมจริยธรรมของนักศึกษาในรายวิชาศึกษาทั่วไปเพราะ เป็นเรื่องสำคัญเนื่องจากสังคมคาดหวังว่ามหาวิทยาลัยจะผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรมนำวิชาการ มหาวิทยาลัยจึงต้องปลูกฝังจริยธรรมแก่นักศึกษาตั้งแต่รายวิชาศึกษาทั่วไปชั้นปีที่ 1 และรายวิชาต่างๆ ในสาขาวิชาจนจบ การศึกษา หมวดวิชาศึกษาทั่วไปมุ่งหมายให้นักศึกษาพัฒนาตนเป็นบุคคลที่เข้าใจตน เข้าใจคน เข้าใจโลก พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ดำเนินชีวิตอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม มีวิธีสอนที่สามารถเสริมสร้างความแข็งแกร่งด้านจริยธรรมให้นักศึกษา เช่น สอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ ใช้กรณีตัวอย่าง ใช้สถานการณ์จำลอง และใช้กระบวนการจิตตปัญญาศึกษา ทุกวิธีมีกระบวนการและวิธีให้นักศึกษาคิดไตร่ตรองพิจารณาประเด็นจริยธรรม ค่านิยมที่คลุมเครือให้ชัดเจนจนสามารถปฏิบัติเป็นนิสัยเมื่อจบหลักสูตรการศึกษาจะเปีนบุคคลที่มีคุณลักษณะตามที่สังคมคาดหวัง สังคมจะได้รับบัณฑิตที่มีผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรมตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษา

Article Details

How to Cite
วุฒิวงศ์ เ. (2017). การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาพฤติกรรมจริยธรรมในรายวิชาศึกษาทั่วไป. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 27(1), 19–30. https://doi.org/10.14456/pyuj.2017.2
บท
บทความวิชาการ

References

เครือข่ายการศึกษาทั่วไปแห่งประเทศไทย. (2559). รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติด้าน การศึกษาทั่วไปครั้งที่ 2. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2559 จาก http://genconference.kmutt.ac.th/

ชนาธิป พรกุล. (2554). การสอนกระบวนการคิด: ทฤษฏีและการนำไปใช้. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2530). พฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนาจริยธรรมนิสิตนักศึกษา. สืบค้นเมื่อ 2 สิงหาคม 2559 จาก http://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php

ทิศนา แซมมณี. (2550). รูปแบบการเรียนการสอน: ทางเลือกที่หลากหลาย. (พิมพ์ครั้งที่ 5). ฉบับพิมพ์เพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นภาพร ณ เชียงใหม่.(2548). เทคนิคการสอนคุณธรรมสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เอกสาร ประกอบการประชุมทางวิชาการการวิจัยทางการศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 12. (หน้า422-429). นนทบุรี: โรงพิมพ์และทำปกเจริญผล.

นิภา มิลินทวิสมัย, วราภรณ์ เชื้ออินทร์, สินีนาฎ ศิริ, วุฒิพงศ์ ลิมป์วิโรจน์, และภิญโญ รักษาพันธุ์. (2549). วิธีการสอนสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น. เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการการวิจัยทางการศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 12. นนทบุรี: โรงพิมพ์และทำปกเจริญผล.

นีออน พิณประดิษฐ์. (2555). จริยธรรม: ทฤษฏีและรูปแบบการพัฒนา. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย ขอนแก่น

นงเยาว์ แข่งเพ็ญแข. (2545). การเสริมสร้างพลังจิตใจ จริยธรรมและวินัยสำหรับเด็กและเยาวชนร่วมกับ กระบวนการคิดของสมอง. กรุงเทพฯ: ส่งเสริมการศึกษาและจริยธรรม.

บูรชัย คิริมหาสาคร. (2547). เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: บุ๊ค พอยท์.

บังอร โสฬส. (บรรณาธิการ). (2556). ครูกับการเสริมสร้างจริยธรรมแก่นักเรียน คำถามและคำตอบ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งซาติ (วซ.). ศูนย์วิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย.

ปณัดดา ยอดแสง. (2559). การจัดการเรียนการสอนวิชาศึกษาทั่วไปเพื่อให้เข้าถึงผู้เรียนอย่างแท้จริง สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2559 จาก https://drive.google.com/file/d/0BxSsXF7AwhALUFpBd0FMZlpXYXc/view

ปิ่นวดี ศรีสุพรรณ. (2559). การประยุกต์ใช้ Facebook ในการสนับสนุนการเรียนการสอนสู่การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2559 จาก https://drive.google.com/file/d/0BxSsXF7AwhALX0Zrcmw0R0NtWHM/view

พิเซษฐ์ พินิจ, อนุศิษฎ์ อันมานะตระกูล, เอกรัตน์ รวยรวย, และวิศิษฐ์ศรี วิยะรัตน์. (2559). จิตตปัญญากับ การบ่มเพาะผู้เรียนสู่ความเป็นมนุษย์ที่แท้: กรณีศึกษารายวิชาการเขียนเชิงวิชาการระดับปริญญาตรี. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2559 จาก https://drive.google.com/file/d/0BxSsXF7AwhALcWxRXylPWFVlamc/view

มนัสนันท์ หัตถศักดิ์และคณะ. (2558). ผลการศึกษาองค์ประกอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไปทั้ง 8 ด้านตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2559 จาก https://drive.google.com/file/d/0BxSsXF7AwhALbVFfZlB4SmV6QjQxVmwalRhU3NMWlp2Z2ZN/view

ยุพิน บุญชูวงศ์. (2556). การสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2559 จาก vwwv.pharmacy.cmiJ.ac.th/unit/unit_files/files.../2013-03-27เม.ย.56-new.doc

ละเอียด แจ่มจันทร์ และสุรี ขันธรักษวงศ์, บรรณาธิการ. (2549). กฏหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพ การพยาบาล. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพๆ: จุดทอง.

ลักขณา สวิวัฒน์, (2558). การรู้คิด. กรุงเทพๆ: โอเตียนสโตร์.

ว. วซิรเมธี. (2555). ทำงานอย่างไรให้มีความสุข. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2559 จาก http://www.ebooks.in.th/ebook/3813/

ศราวุธ สุทธิรัตน์ และทวีพร พันธุ์พาณิชย์. (2546). การเรียนการสอนเทคนิคการแพทย์แนวใหม่เพื่อปลูกฝัง จริยรรรม. เอกสารการประชุมวิชาการ การวิจัยทางการศึกษา ครั้งที่ 11. (หน้า 141 - 146). นนทบุรี: โรงพิมพ์และทำปกเจริญผล

ศูนย์จิตตปัญญาศึกษา. (2559). รู้จักจิตตปัญญาศึกษา. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2559 จาก http://vwvw.ce.mahidol.ac.th/about/contemplative.php

สำนักงานมาตรฐานและคุณภาพอุดมศึกษา. (2559). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2559 จาก http://www.mua.go.th/users/bhes/front_home/criterion58/criterion_b58.PDF

สำนักนโยบายและแผนการอุดมศึกษา. (2559). กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565). สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2559 จาก http:/7www.mua.go.th/users/bpp/developplan/index.htm

สิวลี ศิวิไล. (2551). จริยศาสตร์สำหรับพยาบาล. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

สุชาดา ทิพย์มนตรี. (2556). ประสิทธิผลของการแสดงบทบาทสมมติในการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการบริการ. สืบค้นเมื่อ 19 มกราคม 2560 จาก hffp://fdc.fhailis.or.fh/fdc//browse.php

อุดมรัตน์ สงวนศิริธรรม และ สมใจ ศิระกมล. (2558). พฤติกรรมจริยรรรมของวิชาชีพ. เชียงใหม่: คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Gulcan. N.Y. 2015). Discussing the important of teaching ethics in education. Procedia-Social and Behavioral Science, 174 (2015), 2622-2625. Retrieved August 20, 2016, from Doi:10.1016/j.sbspro.2015.01.942

Noone, P.H. et.atl. (2013). Use of role play in undergraduate teaching of ethics-An experience Journal of Forensic and Legal Medicine, 20(2013), 136-138.

Retrieved from http://dx.doi.org/10.1016/j.jflm.2012.06.010