แนวทางกฎหมายเพื่อรองรับสิทธิในการรวมกลุ่มของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ตามอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 และ 98

Main Article Content

มลวรรษ สร้อยมะสิลา

บทคัดย่อ

ในปัจจุบันโลกเราได้มีการพัฒนาในหลายด้านโดยเฉพาะด้านมาตรฐานแรงงานที่มีการพัฒนากฎหมาย เพื่อให้เกิดการคุ้มครองสิทธิต่างๆ รวมถึงสิทธิในการรวมตัวและการเจรจาต่อรองตามอนุสัญญาแรงงานระหว่าง ประเทศฉบับที่ 87 และ 98 ซึ่งประเทศที่ให้สัตยาบันและเข้าร่วมเป็นภาคีสมาซิกองค์การแรงงานระหว่าง ประเทศจะต้องถือปฏิบัติตามในส่วนประเทศไทยนั้นได้เข้าร่วมเป็นภาคีสมาซิกแต่ไม่ได้ให้สัตยาบันในอนุสัญญาทั้ง 2 ฉบับ แต่ประเทศไทยก็ได้น่ำหลักการตามอนุสัญญาดังกล่าว มาพัฒนากฎหมาย ภาคเอกชนและรัฐวิสาหกิจเพื่อให้เกิดความสอดคล้อง ทั้งนี้การพัฒนากฎหมายดังกล่าวไม่ได้ครอบคลุมถึงข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐแต่อย่างใด เนื่องจากแนวคิดที่ว่าข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐไม่ใช่ผู้ใช้แรงงานหรือลูกจ้าง


จากการศึกษากฎหมายประเทศต่างๆ จะเห็นว่า ได้มีการรองรับในเรื่องการรวมตัวเพื่อการเจรจาต่อรอง ตามบริบทต่างๆ บนพื้นฐานที่มีความแตกต่างกันออกไป จากการศึกษาพบว่า ประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นภาคีสมาซิกแต่มิได้ให้สัตยาบันอนุสัญญาดังกล่าว เนื่องจากหากให้สัตยาบันแล้วสิทธิดังกล่าวจะต้องครอบคลุมถึงข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วย ซึ่งยังไม่มีกฎหมายภายในรองรับแต่อย่างใด ดังนั้นเพื่อให้เกิดความพร้อมใน กรณีที่ประเทศไทยจะให้สัตยาบันในอนาคตควรมีแนวทางในการออกกฎหมายมารองรับสิทธิการรวมตัวและเจรจาต่อรองของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐต่อไป

Article Details

How to Cite
สร้อยมะสิลา ม. (2017). แนวทางกฎหมายเพื่อรองรับสิทธิในการรวมกลุ่มของข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ตามอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ฉบับที่ 87 และ 98. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 27(1), 31–45. https://doi.org/10.14456/pyuj.2017.14
บท
บทความวิชาการ

References

เกษมสันต์ วิลาวรรณ. (2538). กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ (พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518: หลักการ วิธีปฏิบัติ และแนวคำพิพากษาฎีกา. กรุงเทพฯ: นิติบรรณการ.

คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ สภาร่างรัฐธรรมนูญ. (2540). สาระสำคัญของร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ พร้อมตารางเปรียบเทียบกับรัฐธรรมนูญ พุทธคักราช 2540 ฉบับรับฟังความเห็น. กรุงเทพฯ: คณะกรรมาธิการฯ.

คณะกรรมาธิการสิทธิมนูษยชนแห่งซาติ. (2550). รัฐธรรมนูญฉบับเจตนารมณ์ประชาชน. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการ.

นันทวัฒน์ บรมานันนท์. (2547). หลักกฎหมายปกครองเกี่ยวกับบริการสาธารณะ. กรุงเทพฯ: วิญณูซน.

ประยูร กาญจนดุล. (2533). คำอธิบายกฎหมายปกครอง (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

รุจิเรข ชุ่มเกสรกูลกิจ. (2545). อนุสัญญาขององค์การแรงงานระหว่างประเทศฉบับที่ 87 ว่าด้วยเรื่องเสรีภาพ ในการรวมตัวเป็นสมาคมและการคุ้มครองสิทธิในการจัดตั้ง ค.ศ.1948. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

วิจิตรา(ฟุ้งลัดดา) วิเชียรชม.(2551). เสรีภาพในการรวมกลุ่มของเจ้าหน้าที่ของรัฐ. วารสารวิชาการศาลปกครอง. 8 (มกราคม-เมษายน), 125-146.

วิจิตรา วิเชียรซม, จาดุร อภิชาตบุตร และเข็มทอง ตันสกุลรุ่งเรือง. (2553). เสรีภาพในการรวมกลุ่มของ ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ. จุลนิติ. 7(1). (มกราคม-กุมภาพันธ์), 1-2.

คิริพล กุศลศิลป์วุฒิ. (2546). สิทธิและเสรีภาพในการจัดตั้งสหภาพแรงงานในระบบราชการไทย. สารนิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

สรุปประเด็นและความเห็นในการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ สภาร่างรัฐธรรมนูญ. (2550). จุลนิติ. 4(2). (มีนาคม-เมษายน), 8-9.

Budiarti, I. (2011). Freedom of association for the public sector employees in Indonesia: Challenges and development. Retrieved April 24, 2009, from https://unionism.wordpress.com/2011/02/23/ freedom-of-association-for-the- public-sector-employees-in-indonesia-challenges-and-development/

Dawson, R. T. & Underwood, พ. K. (1991). Overview of labor-management relations in air force. Air Force Low Review Law, 35, 2-3.

Gernigion, B., Odero, A. & Guido, H. (2003).Freedom of association in fundamental rights at work and international labor standards. Geneva: International Labor Office.

Gernigon, B. (2001). ILO convention No. 98: An instrument still topical 50 years after it’s a doption. Retrieved April 24, 2009, From https://training.itcilo.org/ils/ils_freedom/training_materials/English/ILO_conventinon98.pdf

Flodges-Aeberhard, J. & de Dios, A. o. (1987, September-October). Principles of the committee on freedom of association concerning strikes. International Labour Review (Geneva), 126(5), 543-563.

International Labour Organization (ILO). (1947). Freedom of association and industrial relations: Report VII, International Labour Conference, 30th Session. Geneva: ILO.

International Labour Organization (ILO). (1948). Freedom of association and protection of the right to organise, Report VII, International Labour Conference 31st Session. Geneva: ILO.

International Labour Organization (ILO). (1950). Record of proceedings: International Labour Conference, 33rd Session. Geneva: ILO.

International Labour Organization (ILO). (1970). Record of proceedings, International Labour Conference, 54th Session. Geneva: ILO.

International Labour Organization (ILO). (1992).Democratisation and the ILO: Report of the director-general (Part 1), International Labour Conference, 79th Session. Geneva: ILO.

International Labour Organization (ILO). (1994). Freedom of association and-collective bargaining, ILC 81st, Report III (Part 4B). Geneva: ILO.

International Labour Organization (ILO). (1996). Freedom of association: Digest of decisions and principles of the freedom of association committee of the governing body of the ILO, 4th ed. Geneva: ILO.