ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงินกับการจัดการกำไร: กรณีศึกษากลุ่มอุตสาหกรรมประเภทสินค้าอุปโภคและบริโภคในบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

Main Article Content

ปฐมชัย กรเลิศ
ฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงินกับการจัดการกำไร และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงินที่มีระดับสูงและระดับต่ำตามโครงสร้างเงินทุนกับการจัดการกำไร การวิจัยนี้ใช้ข้อมูลบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมประเภทสินค้าอุปโภคและบริโภค ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในระหว่างปี พ.ศ.2555-2557 รวม 3 ปี จำนวนประชากรในงานวิจัยครั้งมีจำนวน 105 รายการ ได้ใช้สถิติเชิงพรรณนาหาค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติการวิเคราะห์ความถดถอย (Multiple- Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐานกับตัวแบบจำลอง ผลการวิจัยพบว่า อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน เฉพาะอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนผู้ถือหุ้นมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับการจัดการกำไร แต่อัตราส่วนหนี้สินต่อสินทรัพย์รวมและอัตราส่วนวัดความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ยไม่พบความสัมพันธ์กับการจัดการกำไร แม้จะทำการแบ่งระดับอัตราส่วนวัดความเสี่ยงทางการเงินตามโครงสร้างของเงินทุนแล้วก็ไม่พบความสัมพันธ์ใดๆ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05

Article Details

How to Cite
กรเลิศ ป., & สินจรูญศักดิ์ ฐ. (2017). ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงินกับการจัดการกำไร: กรณีศึกษากลุ่มอุตสาหกรรมประเภทสินค้าอุปโภคและบริโภคในบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 26(2), 165–183. https://doi.org/10.14456/pyuj.2016.25
บท
บทความวิจัย

References

กิตติพันธ์ คงสวัสดิ์เกียรติ. (2552). “การเริ่มต้นลงทุนในหลักทรัพย์ (ตอน 1)” (ออนไลน์) สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 2558,จาก: http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?

กฤษณา กัมปนาทโกศล และชาญชัย ตั้งเรือนรัตน์. (2551). “การตกแต่งกำไรกับสัดส่วนการก่อหนี้.” วารสารวิชาชีพบัญชี.4 (10): 66-78.

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2558). “โครงสร้างการจัดกลุ่มอุตสาหกรรมและหมวดธุรกิจของตลาดหลักทรัพย์ฯ.” ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. 19 กุมภาพันธ์ 2558: 1-4.

ธนิดา จิตร์น้อมรัตน์, เพียรใจ โพธิ์ถาวรและชนิดา เชื้อสุวรรณชัย.(2551). การบัญชีเพื่อการจัดการ: เครื่องมือสำคัญสำหรับผู้บริหารธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์: 4-409

นารีรัตน์ เทียมรัตน์. (2556). “ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างเงินทุนกับการจัดการกำไร: กรณีศึกษาบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.” บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

บริษัท 304 อินดัสเตรียล ปาร์ค จำกัด.(2557). “บทวิเคราะห์สำหรับผู้บริหาร” (ออนไลน์) สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 2558, จาก:http://www.304industrialpark.com/th/about/executive_review/

ประวัฒน์ เบญญาศรีสวัสดิ์. (2555). “ความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูลบัญชี.” Executive Journal.: 39-42.

พิมพ์ชนก ตันต๊ะนา .(2554). “การจัดการกำไรผ่านรายการพึงรับพึงจ่ายของบริษัทที่เสนอขายหุ้นใหม่ แก่สาธารณชนเป็นครั้งแรกในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.” บัญชีมหาบัณฑิต สาขาการบัญชี ภาควิชาบัญชี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ลิษา สวาทยานนท์. (2551). “Positive Accounting theory และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง.” วารสารวิชาชีพบัญชี. 4 (11): 85-95.

วัฒนี ศิริทัตสวัสดิ์. (2558). “What is Role of Accruals? Do Accounting Models are able to Detect Earnings Management?.” วารสารวิชาชีพบัญชี. 30: 66-77.

สมชาย สุภัทรกุล. (2554). งบการเงิน: ข้อมูลสำหรับการสื่อสารและการตัดสินใจทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ: คณะบุคคลอิมเมจิเนียริ่ง:102-145.

สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์. (2550). การบัญชีบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เมคกรอ-ฮิล: -584.

สรรพงศ์ ลิมป์ธำรงกุล. (2556). “วิธีวิเคราะห์ว่าบริษัทจะเจ๊งหรือไม่” (ออนไลน์) สืบค้นเมื่อ ตุลาคม, จาก: http://www.investidea.in.th/2013/10/Solvency.html

สถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์. (2558). “ปธ.ตลท.ย้ำ Q3 เศรษฐกิจจะดีขึ้น หุ้นหมวดสินค้าอุปโภค-บริโภคยังโต” สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 2558, จาก: http://www.manager.co.th/iBizChannel

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. (2558). “เอกสารเผยแพร่ของบริษัทที่ออกและเสนอขายหลักทรัพย์.”(ออนไลน์). สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 2558. จาก http://market.sec.or.th/public/idisc/th/FinancialReport/ALL

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน. (2556). “อนาคตลงทุนไทย มองอย่างไรในสายตานักลงทุน”. การสัมมนา ณ โรงแรมเจ้าพระยาปาร์ค กรุงเทพฯ. 12 กันยายน 2556: 1-2.

Ardison, M. K.M., Martinez, A. L. & Galdi, F. C. (2008). “The Effect of Leverage on Earning Management in Brazil.” Advances in Scientific and Applied Accounting. Sao Paulo. 5 (3): 305-324.

Brigham E. F. and Houston J.F. (2004). Fundamentals of Financial Management, 10th ed. Thomson: Australia.

Chandra, P. (2011). Financial Management. 8th ed. Tata McGraw Hill Education Private Limited: 76-78.

DeAngelo, L. E. (1986), “Accounting number as market valuation substitutes: a study of manament buyouts of public stockholders”. The Accounting Review. 61(3): 400-420.

Dechow M. P. & Dichev, I. D. (2002). “The Quality of Accruals and Earnings: The Role of Accrual Estimation Errors.” The Accounting Review. 77 (2002): 35-59

Hayes, A. (2015). “Leverage Ratio”. Investopedia, LLC., 1-2.

Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B.J., Anderson, R. E. & Tatham, R. L. (2005). “Multivariate data analysis.” 6th ed. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall

Healy, P.M. (1985). “The impact of bonus schemes on the selection of accounting principles.” Journal of Accounting and Economics, 7: 85-107.

Hulster, K. D. (2009). “The Leverage Ratio.” Crisis response. The World Bank. 11: 1-6

Jones, J. (1991). “Earnings management during import relief investigations.” Journal of Accounting Research, 29: 193-228.

Kothari, S.P., Leone, A. J. & Wasley, C. E. (2005). “Performance Matched Discretionary Accrual Measures.” Journal of Accounting & Economics. 39: 163-197.

Mamedova, I. Z. (2009). “The effect of leverage increases on real earning management.” RePub Pubications. Erasmus University: Rotterdam.

Marciukaityte, D. & Szewczyk S. (2011). “Financing Decisions and Discretionary Accruals: Managerial Manipulation or Managerial Overoptimism.” Review of Behavioral Finance, 3: 91-114.

Odabashian, K. (2005). “The Effect of Large Leverage Increases on Opportunistic Behavior and Earning Management.” Degree of Doctor of Philosophy at the University of Connecticut. ProQuest Information and Learning Company.

Sercu, P., Bauwhede, H. V. & Willekens, M. (2006). “Earnings management and Debt.” Faculty of Economic and Applied Economics. Katholieke Universiteit Leuven.

Valipour, H. & Moradbeygi M. (2011). “Corporate Debt financing and Earnings Quality.” Journal of Applied Finance & Banking. International Scientific Press.1(3): 139-157.

Wagman, K. (2013). “The leverage ratio – what is it and do we need it?.” Economic Commentaries. 5: 1-6.

Watt, R. L. and Zimmerman, J. L.(1990). “Positive Accounting Theory: A Ten Year Perspective.” The Accounting Review. 65 (1): 131-156

Zamri, N., Rahman, R. A., & Mohd Isa N. S. (2013). “The Impact of Leverage on Real Earnings Management.” Procedia Economics and Finance. 7(2013): 86-95