การกำหนดโครงการเพื่ออัตลักษณ์ของวิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาการกำหนดโครงการเพื่ออัตลักษณ์ของวิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เครื่องมือในการเก็บข้อมูล คือ การรวบรวมเอกสาร และการประชุมระดมสมอง กลุ่มตัวอย่าง คือผู้บริหาร อาจารย์และเจ้าหน้าที่ของวิทยาลัยบริหารศาสตร์ งานวิจัยนี้ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า การกำหนดโครงการพื้นที่ สามารถใช้ในการสร้างการรับรู้อัตลักษณ์ของวิทยาลัยบริหารศาสตร์ ซึ่งประกอบไปด้วย 5 โครงการ คือ โครงการเพื่อสังคม โครงการสร้างการมีส่วนร่วมขององค์การและชุมชน โครงการดำเนินกิจกรรมเพื่อสังคมร่วมกัน โครงการการติดต่อสื่อสารสู่สังคม และโครงการเสริมสร้างพลังการขับเคลื่อนคนทำงานเพื่อไปบริหารจัดการเพื่อสังคม
Article Details
How to Cite
เจริญผล เ. (2016). การกำหนดโครงการเพื่ออัตลักษณ์ของวิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 26(1), 75–89. https://doi.org/10.14456/pyuj.2016.3
บท
บทความวิจัย
References
เกศกนก ชุ่มประดิษฐ์. (2549). อัตลักษณ์และภาพลักษณ์ของจังหวัดเชียงราย. เชียงราย: สำนักกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ถวัลย์รัฐ วรเทพพุฒิพงษ์. (2541). การกำหนดและวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ: ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2551). เครื่องมือการจัดการ. กรุงเทพฯ: รัตนไตร
ธงชัย สันติวงษ์. (2542). องค์การกับการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วินิต ทรงประทุม. (มปป.). การบริหารโครงการ. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
วุฒินันท์ สุนทรขจิต. (2551). ร้านอาหารญี่ปุ่นสมัยใหม่: พื้นที่การสื่อสาร ความหมาย อัตลักษณ์และความเป็นญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สมจิตร เกิดปรางค์. (2545). การสัมมนา. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
สุจิตรา บุณยรัตพันธุ์. (2540). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ: จูนพับลิชซิ่ง.
สุมิตรา ศรีวิบูลย์. (2547). การออกแบบอัตลักษณ์. กรุงเทพฯ: เลิฟแอนด์ลิฟเพรส.
อายุส หยู่เย็น. (2551). การเปรียบเทียบการรับรู้ของมหาวิทยาลัยว่าอะไรคือสิ่งที่นักศึกษาคาดหวังและความคาดหวังของนักศึกษา. เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์
อุทัย ดุลยเกษม. (2545). สังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยและการพัฒนา. อยุธยา: เทียนวัฒนา.
อุทัย เลาหวิเชียร. (2540). รัฐประศาสนศาสตร์:ลักษณะวิชาและมิติต่างๆ. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Collier, K. (1997). Introduction to Social administration in Britain. London: Hutchison
Whetten, David A., and Paul C. Godfrey. (1998). Identity in Organization. London: SAGE.
ถวัลย์รัฐ วรเทพพุฒิพงษ์. (2541). การกำหนดและวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ: ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2551). เครื่องมือการจัดการ. กรุงเทพฯ: รัตนไตร
ธงชัย สันติวงษ์. (2542). องค์การกับการสื่อสาร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วินิต ทรงประทุม. (มปป.). การบริหารโครงการ. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
วุฒินันท์ สุนทรขจิต. (2551). ร้านอาหารญี่ปุ่นสมัยใหม่: พื้นที่การสื่อสาร ความหมาย อัตลักษณ์และความเป็นญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ: วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สมจิตร เกิดปรางค์. (2545). การสัมมนา. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
สุจิตรา บุณยรัตพันธุ์. (2540). ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ: จูนพับลิชซิ่ง.
สุมิตรา ศรีวิบูลย์. (2547). การออกแบบอัตลักษณ์. กรุงเทพฯ: เลิฟแอนด์ลิฟเพรส.
อายุส หยู่เย็น. (2551). การเปรียบเทียบการรับรู้ของมหาวิทยาลัยว่าอะไรคือสิ่งที่นักศึกษาคาดหวังและความคาดหวังของนักศึกษา. เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์
อุทัย ดุลยเกษม. (2545). สังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยและการพัฒนา. อยุธยา: เทียนวัฒนา.
อุทัย เลาหวิเชียร. (2540). รัฐประศาสนศาสตร์:ลักษณะวิชาและมิติต่างๆ. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
Collier, K. (1997). Introduction to Social administration in Britain. London: Hutchison
Whetten, David A., and Paul C. Godfrey. (1998). Identity in Organization. London: SAGE.