สิทธิและการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริโภคที่มีต่อโฆษณา

Main Article Content

กรณิการ์ รักธรรม

Abstract

Due to responding to the 5 items of rights protected by Thailand Consumer Protection Act B.E. 2522 and revised B.E. 2541 edition, the consumers have to take action in both before and after purchasing activity. They can sue for their right when found the offense.


The survey of consumer in Chiangmai shows that people are aware for their right and duty in the medium level, while it is high level in Bangkok. Although people in Chiangmai always do the before purchasing duty, but after purchasing activity to low, they leave the receipt which is would be the witness in case of sue process afterward. Even though the government provides many channels to give feedback or complain for the offenses, the consumers, especially in the remote area do not pay attention much in processing on it.


Therefore, this paper aims to awake the consumer to take more action in order to save their right and duty toward the advertisements.

Article Details

How to Cite
รักธรรม ก. (2016). สิทธิและการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริโภคที่มีต่อโฆษณา. PAYAP UNIVERSITY JOURNAL, 26(1), 191–206. https://doi.org/10.14456/pyuj.2016.12
Section
Research Articles

References

กรณิการ์ รักธรรม. (2558). การสำรวจความรู้ด้านสิทธิ หน้าที่ และแนวโน้มพฤติกรรมของผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่ที่มีต่อโฆษณาไม่เป็นธรรม. รายงานวิจัยฉบับที่ 327 ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยพายัพ ประจำปีการศึกษา 2554

กัลป์ยกร วรกุลลัฎฐานีย์และพรทิพย์ สัมปัตตะวนิช” (2551). การโฆษณาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

คลังปัญญา. (สืบค้นวันที่ 12 เดือนเมษายน 2558). วิธีสืบค้นวัสดุสารสนเทศ. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://www.panyathai.or.th

จินตนา เทียมทิพร, ผศ.จินดา บุญช่วยเกื้อกูล, นายวิศิษฏ์ ปิยะมาดา, นางสาวทิพากร มีใจเย็น,

นายวิษณุ โรจน์เรืองไร. (2544). สัมฤทธิผลการดำเนินการรณรงค์โครงการเสริมสร้างความ ตื่นตัวในการปกป้องสิทธิผู้บริโภคในการบริโภคผลิตภัณฑ์ ปี 2540-2544. สืบค้นวันที่ 04 เมษายน 2558. วิธีสืบค้นวัสดุสารสนเทศ. (ออนไลน์).http://www.fda.moph.go.th/prac/research/2544

ธีรพล ภูรัต. (2553). ศาสตร์แห่งการโฆษณา. กรุงเทพมหานคร: แผนกตำราและคำสอนมหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

นลินี ตันจิตติวัฒน์. (2540). ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมของผู้บริโภคในการปกป้องสิทธิของตนเองจากข้อความโฆษณาที่ไม่เป็นธรรม. วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพโรจน์ อาจรักษา. (2543). ครบเครื่องเรื่องการคุ้มครองผู้บริโภค: ครบเครื่องเรื่องสัญญา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). แก้ไขเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. (สืบค้นวันที่ 15 เดือนเมษายน 2558). วิธีสืบค้นวัสดุสารสนเทศ. (ออนไลน์). http://www.krisdika.go.th

ศรัณยพงศ์ เที่ยงธรรม. (สืบค้นวันที่ 20 เดือนมกราคม 2559). วิธีสืบค้นวัสดุสารสนเทศ. (ออนไลน์). http://marketeer.co.th /2016/02/below-the-line

สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค. การสำรวจความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิผู้บริโภคและการรับรู้ข้อมูลข่าวสารของประชาชนที่มีต่อสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2550. สาขาสังคมวิทยา จิตวิทยาสังคม

สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค. (สืบค้นวันที่ 20 เดือนเมษายน 2558). วิธีสืบค้นวัสดุสารสนเทศ. (ออนไลน์). http://www.ocpb.go.th

สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค สำนักนายกรัฐมนตรี. (2553). สคบ.กับการคุ้มครองผู้บริโภค. พิมพ์ครั้งที่ 14. จำนวนพิมพ์ 7,000 เล่ม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.