ปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มแข็งของชุมชน และการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน รอบวนอุทยานเขาหลวง เขตอำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์

Main Article Content

พัชราภา สิงห์ธนสาร

Abstract

The objectives of this study is to study the factors that effect the community strength and the community economic development area Khao Luang  Forest Park: Krokphra District, NakhonSawan Province. This study employed the quantitative research methodologies. The questionnaires and interviews were used as research tools to collect data from 1,493 households in 15 villages from 4 Tambon. The researcher used Exploratory Factor Analysis (EFA) and Structural Equation Modeling (SEM) as the techniques to analyze the data. The results of this study revealed as follows:


          - The economic factors in terms of expenditure, including “cost, necessary expenditures and average expenditures per person in household” are factors that have a negative direct effect on the community strength.


          - The social factors, including “the number of the people in the household, non-smokers and people aged 6 and over do religious practice at least 1 time per   week” are factors that have a positive direct effect on the community strength.


          - The economic factors in terms of revenue and occupational factors do not  have a direct effect on the community strength.


          - The factors that have a direct effect on the community economic development, including the economic factors that is “cost and average revenue”, and the social factors that is “non-smokers”.


          Therefore, the community economic development in addition to generating revenue and reduce costs, it should pay more attention to the social factors.

Article Details

How to Cite
สิงห์ธนสาร พ. (2018). ปัจจัยที่มีผลต่อความเข้มแข็งของชุมชน และการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน รอบวนอุทยานเขาหลวง เขตอำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์. PAYAP UNIVERSITY JOURNAL, 25(2), 93–114. https://doi.org/10.14456/pyuj.2015.13
Section
Research Articles

References

จันทนา อินทปัญญา, รวิวรรณ เทนอิสสระ และ ณัฐธชัย นุชชม. (2553). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาความยากจนของประชากรในบริเวณพื้นที่โดยรอบวนอุทยานเขาหลวง จังหวัดนครสวรรค์ และจังหวัดอุทัยธานี. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

พรเทพ รัตนเรืองศรี. (2550). ยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในการแก้ปัญหาความยากจน หมู่บ้านหนองแวง ตําบลโนนสะอาด อําเภอหนองเรือ จังหวัดขอนแก่น. ปริญญาศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขายุทธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, เลย.

ไพวรรณ ทิพย์สนเท่ห์. (2542). การวิเคราะห์เชิงผลได้ผลเสีย เศรษฐกิจชุมชนโครงการโคราชพัฒนา: กรณีศึกษาหมู่บ้านหนองกก. ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง, กรุงเทพฯ.

วศิน อินทสระ. (2541). พุทธจริยศาสตร์. กรุงเทพฯ: ทองกวาว.

สัมพันธ์ เตชะอธิก. (2540). NGOs อีสาน. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.

สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครสวรรค์. (2558). ข้อมูลจปฐ. ปี 2557. นครสวรรค์: สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครสวรรค์.

สุภมาส อังศุโชติ, สมถวิล วิจิตรวรรณา และรัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน์. (2552). สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์: เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.

อุดมศักดิ์ วงศ์พันธุ์. (2541). ศักยภาพของชุมชนชนบทในการพึ่งตนเองด้านเศรษฐกิจ. ปริญญานิพนธ์ศิลปะศาสตร มหาบัณฑิต (การศึกษานอกระบบ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

Hair, J. F., Jr., Black, W. C., Babin, B. J., Anderson, R. E. and Tatham, R. L. (2006). Multivariate data analysis. (6th ed.). Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall International.