การพัฒนาการจัดการของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสู่การพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน

Main Article Content

นงคราญ ไชยเมือง

Abstract

The article titled "Development of Community Enterprise Management to Sustainable Self-Reliance,” was written with the aims to present the necessity of developing several community enterprises implemented by the Philosophy of Sufficiency Economy, to look forward to the growth and development of sustainable self-reliance development, which is a major fundamental in developing countries. For the development of community enterprises to become sustainable self-reliance for a long time, there are 2 important dimensions. First, management philosophy employed with 4 principles namely the concept of financial conservatism, which needs caring of a changing environment, has unity and focus on creating identity, has a high tolerance for ideas and new ideas. Second, strategic management process plays an important role in the management of community enterprises because it involves defining the vision, mission, objectives, strategies and policies, including the monitoring and evaluation of community enterprises systematically. Additionally, it is as a response to the question, "Why to do?" to make the community a clear direction and goals of the organization that creates and develops economy of communities throughout the nation.

Article Details

How to Cite
ไชยเมือง น. (2018). การพัฒนาการจัดการของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนสู่การพึ่งพาตนเองอย่างยั่งยืน. PAYAP UNIVERSITY JOURNAL, 25(1), 15–39. https://doi.org/10.14456/pyuj.2015.1
Section
Research Articles

References

นงคราญ ไชยเมือง. (2552). ศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคและปัจจัยทางการตลาดในการเลือกซื้อสินค้าหัตถกรรมจากผักตบชวาของจังหวัดพะเยา. เชียงใหม่. มหาวิทยาลัยพายัพ.

นงคราญ ไชยเมือง และคณะ. (2554). การพัฒนาชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษาชุมชนบ้านสันกลาง ตำบลจำป่าหวาย อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา. เชียงใหม่. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.).

นงคราญ ไชยเมือง. (2556). การพัฒนาศักยภาพการจัดการกลุ่มผลิตน้ำดื่มโรงเรียนบ้านจำป่าหวาย ตำบลจำป่าหวาย อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา. เชียงใหม่. มหาวิทยาลัยพายัพ.

ผลิน ภู่เจริญ. (2550). ความพอเพียงที่ยิ่งใหญ่และยั่งยืนกับการจัดการร่วมสมัยตัวแบบธุรกิจ “ล้นเกล้า” ศูนย์ศึกษาเศรษฐกิจพอเพียง สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

“พระราชบัญญัติวิสาหกิจชุมชน” (2558). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://sceb.doae.go.th/law.htm (10 กุมภาพันธ์ 2558)

พักตร์ผจง วัฒนสินธุ์ และพสุ เดชะรินทร์. (2542). การจัดการเชิงกลยุทธ์และนโยบายธุรกิจ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริวรรณ เจนการ และคณะ. (2558). โครงการพลังแผ่นดิน : กรณีศึกษาด้านธุรกิจชุมชน.

มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.pattanathai.nesdb.go.th/PTFweb/Interesting_menu/Rbusiness.doc. (6 กุมภาพันธ์ 2558)

สุเมธ ตันติเวชกุล. (2549). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : แสงดาว.

เสรี พงศ์พิศ. (2558). โอทอป ความคิดมีค่ากว่าเงิน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.phongphit.com/2013/index.php/2012-12-06-11-48-33/item/612-2014-12-18-14-24-01 (6 กุมภาพันธ์ 2558)

อภิชัย พันธเสน. (2550). สังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

อัจฉรา จันทร์ฉาย. (2551). การวางแผนกลยุทธ์และการจัดทำ BSC. พิมพ์ครั้งที่ 11 กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Thompson, Arthur A.and Strickland III, A.J. (1999). Strategic Management : Concepts and Cases. 11th Boston : McGraw-Hill, Inc.

Wheelen, Thomas L. and Hunger, J. David. (2010). Strategic Management and Business Policy : Achieving Sustainability. 12th., International ed. Upper Saddle River, N.J. : Prentice.