ศึกษาการจัดทำบัญชีของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ตามแนวทางของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์

Main Article Content

ชาญชัย มะโนธรรม

Abstract

The objective of this study was about the bookkeeping of community enterprises in Chiang Mai Province according to the guidelines of the Cooperative Auditing Department. The populations were 19 bookkeepers of community enterprises that had been promoted according to the proceedings of the Community Enterprise Development Project of the Cooperative Auditing Department in Chiang Mai Province. The results of the study revealed that 78.95 percent of the community enterprises conducted the business of trading (commerce). All the community enterprises did the bookkeeping and kept supporting documents of the income-expenditures and cash accounting entries correctly.  They did not do balance sheets, profit and loss payments, cost of sale statements/cost of production, general journals, registers of members and shares, registers of inventory control and roll materials control, registers of assets, accounts receivable subsidiaries, or books of capital/profit. Problems and obstacles for bookkeeping of the community enterprises in average were at the high level. The problem of the shortage of qualified bookkeepers was at the highest level. The problem of the shortage of budget for employing qualified bookkeepers was also at the highest level. Likewise, the problem of shortage of understanding in accounting systems was at the high level, the problem of not having enough time to do bookkeeping was at the high level, and the problem of complications and difficulties in keeping the documents certifying the accounting records, the accounting books, and small details about supporting documents of bookkeeping account books and subsidiary registers was at the high level.

Article Details

How to Cite
มะโนธรรม ช. (2018). ศึกษาการจัดทำบัญชีของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่ตามแนวทางของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์. PAYAP UNIVERSITY JOURNAL, 25(1), 133–148. https://doi.org/10.14456/pyuj.2015.8
Section
Research Articles

References

กรมตรวจบัญชีสหกรณ์. (2549). คู่มือการจัดทำบัญชีของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร. กรุงเทพฯ:ห้างหุ้นส่วนจำกัด เจ.เอ็น.ที..

กรมตรวจบัญชีสหกรณ์. (2554). คู่มือบัญชีของวิสาหกิจชุมชน. กรุงเทพฯ:ห้างหุ้นส่วนจำกัด เจ.เอ็น.ที.

กรมตรวจบัญชีสหกรณ์. (2557). แนวทางในการปฏิบัติงานโครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชม 2557. ค้นเมื่อ 19 พฤษภาคม 2557. จาก http://www.cad.go.th/

กรมพัฒนาชุมชน. (2557). ประวัติความเป็นมา หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์. ค้นเมื่อ พฤษภาคม 2557. จาก http://www.otop5star.com/about-th.php

นิพาดา ขำนาญ. (2554). “การจัดทำบัญชีธุรกิจชุมชน ภายใต้โครงการ หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในเขตอำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่”. รายงานการค้นคว้าด้วยตนเองปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยพายัพ.

บุญชม ศรีสะอาดและบุญส่ง นิลแก้ว. (2535). การวิจัยเบื้องต้น. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

เบญจมาศ อภิสิทธิ์ภิญโญ. (2555). หลักการบัญชี. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ ซีเอ็ดบุ๊คเซ็นเตอร์.

วัชรี ฮั่นวิวัฒน์. (2554). “ปัญหาและอุปสรรคในการจัดทำบัญชีวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดนครศรีธรรมราช”. รายงานการค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิชาเอกการบัญชีมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

วิภาวี ศรีคะ. (2547). “การจัดทำบัญชีธุรกิจชุมชน ภายใต้โครงการ หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดเชียงใหม่”. รายงานการค้นคว้าอิสระปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสกลนคร. (2557). ค้นเมื่อ 19 พฤษภาคม 2557. จาก http://it1.cpd.go.th/petchburi

สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน. (2557). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชน. ค้นเมื่อ 19 พฤษภาคม 2557. จาก http://smce.doae.go.th/

อรุณี อย่างธารา และคณะ. (2555). การบัญชีการเงิน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.