ทักษะชีวิตวัยรุ่นไทยในศตวรรษที่ 21

Main Article Content

วรรณภา พิพัฒนธนวงศ์

บทคัดย่อ

การเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการเติบโตอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยี การสื่อสารในโลกดิจิตอล ส่งผลต่อพฤติกรรมของบุคคลในสังคมที่มีปฏิสัมพันธกันในเชิงสังคมและ/หรือเชิงวิชาชีพ การเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อการดํารงชีวิตของคนในยุคนี้จึงมีความจําเป็น เพื่อพัฒนาการที่เหมาะสมสอดคล้องกับความเป็นจริงของชีวิต โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนซึ่งเป็นอนาคตสําคัญของชาติ บทความนี้นําเสนอประเด็น “ทักษะชีวิตวัยรุ่นไทยในศตวรรษที่ 21” ซึ่งได้สังเคราะหความรู้จากกรอบแนวคิดเชิงมโนทัศนสําหรับทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษนี้ จากเอกสารวิชาการ นักการศึกษา สื่อตางๆ หรือจากประสบการณ์ตรงของผู้เกี่ยวของ เพื่อเผยแพร้ความรู้ความเข้าใจทักษะชีวิตที่จําเป็นของวัยรุ่น รวมไปกับการเรียนรู้และเข้าใจลักษณะพฤติกรรมของคนในแตละรุ่น สําหรับผู้มีบทบาทเกี่ยวของกับการดูแลกลุ้มวัยรุนทั้งด้านการจัดการเรียนการสอน การพยาบาลและสาธารณสุข ตลอดจนเครือขายทางสังคมและผู้มีส่วนได้ส้วนเสีย ได้เกิดแนวคิดรวมปรับกระบวนทัศนการจัดการศึกษาและการขัดเกลาทางสังคมแก่กลุ่มวัยรุ่น เพื่อรวมเสริมสร้างทักษะของการเรียนรู้แห่งอนาคตของลูกหลานไทยให้อยู่ร่วม อยู่รอดและอยู่อย่างมีความหมายพร้อมเรียนรู้และใช้ความรู้ เติบใหญ่อย่างมีภูมิคุมกันรู่เท้าทันการเปลี่ยนแปลงในสังคมยุคฐานเทคโนโลยี สู่การพัฒนาเป็นกําลังคนที่มีคุณภาพของประเทศชาติต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด.

จิราภรณ ตั้งกิตติภาภรณ์. (2556). จิตวิทยาทั่วไป. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทัฟ, พอล. (2557). เลี้ยงให้รุ่ง: ปฏิวัติการเรียนรู้ผ่านการสร้างลักษณะนิสัยสู่ความสําเร็จ. แปลโดย ดลพร รุจิรวงศ์ กรุงเทพฯ : โอเพ่นเวิลด์.

ทิศนา แขมมณี. (2554). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ราชบัณฑิตยสถาน.

เบลลันกา เจมส์และรอน แบรนด์. (2554). ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21. แปลโดย วรพจน วงศกิจรุ่งเรืองและอธิป จิตตฤกษ์). กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์.

ยงยุทธ วงศ์ภิรมยศานติ์และสุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์. (2556). ทักษะชีวิต. สืบคนเมื่อ 12 มกราคม. 2556. https://www.teenrama.com

รัชดาวรรณ แดงสุข. (2550). การอบรมเลี้ยงดูที่ส่งผลต่อทักษะชีวิตของนักเรียนมัธยมศึกษาโรงเรียนพิบูลประชาสรรค์ เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาพัฒนาการ) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

สุวิชัย โกศัยยะวัฒน์. (2551). วันเด็กแหงชาติ : พัฒนาการและความสําคัญต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. วารสารการศึกษาและพัฒนาสังคม. 4 (2);1-17

สุทัศน์ สังคะพันธ์. (2557). ทําไมต้องทักษะในศตวรรษที่ 21 บทความทักษะแหงศตวรรษที่ 21. นิสิตปริญญาเอก รุ่น 5 สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สืบคนเมื่อ 12 มิถุนายน 2557. https://www.srn2.go.th/attachments/article/145/รวมบทความ.pdf

เอื้อมพร เทพแจ่มใจ. (2549). ความสัมพันธระหวางหน้าที่ครอบครัวกับทักษะชีวิตเพื่อการป้องกันการเสพยาบ้าในวัยรุ่น: กรณีศึกษาศูนย์แพทย์ชุมชนวัดอินทาราม จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รายงานวิจัย. สํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎอยุธยา.

Erikson, E. H. (1963). Childhood and Society. Norton, New York.

Erikson, E. H. (1968). Identity: Youth and Crisis. Norton, New York.

Freud, S. (1953). Contributions to the Psychology of Love: A special type of choice objects made by men. In E. Jones (Ed.), Collected papers (Vol. 4) (pp. 192-202).

Maslow, A. H. (1943). A Theory of Human Motivation. Psychological Review. 50, 340-396.

Stein, J. (2013). “Millennials: The Me Me Me Generation”. 2014, May15. https://time.com/247/millennials-the-me-me-me generation/

Piaget, J. (1974). Intellectual evolution for adolescence to adulthood. Human Development.19, 1-12

Wikipedia. (2013). Generation. 2013, December 20. https://en.wikipedia.org/wiki/Generation

World Health Organization. (1997). Life skills education in schools. Geneva: WHO.