การประเมินความสำเร็จของรายงานทางการเงิน โดยการบันทึกบัญชี ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (E-LAAS) กับการบันทึกบัญชีด้วยระบบมือ ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

สุมาลี ธิป่าหนาด

Abstract

This independent study aims to assess the achievement of financial reports; and to study problems and obstacles of the Electronic Local Administrative Accounting System (e-LAAS) and the manual accounting system of sub-district administrative organizations in Chiang Mai Province. Three systems were studied include a revenue system, an expense system and an accounting system. 


From data summary of questionnaires, the data analysis covered percentage mean and standard deviation of answers related to the achievement of financial reports, including problems and obstacles, with the e-LAAS and the manual accounting system.


The study results revealed the achievement of financial reports of most local administrative organizations as follows. The achievement of the financial reports by the e-LAAS in terms of a revenue system and an expense system was at the low level. The reasons were program errors resulting in inconsistently accounting records, slow performance during peak hours and poor Internet signals resulting in record suspension. The achievement of the financial reports by e-LAAS in term of an accounting system was at the lowest level because property registration statement had not previously been registered in the systems so all items had not been recorded. If the systems were not updated, the accounting was not closed within 30 September of each year and the system clearing request was complicated.


The achievement of financial reports by the manual accounting system in terms of all 3 systems i.e. a revenue system, an expense system and an accounting system was at the highest level. The problems and obstacles of the e-LAAS were at the lowest level, provided that most were caused by program errors very often. The problems and obstacles of the manual accounting system were at the lowest level due to an insufficient number of recording officers. From this study, it was found that the achievement of the manual accounting system was at the highest level. The finding will be a guideline for a next research and for proper accounting records of sub-district administrative organizations to ensure their efficient and effective performance. This will benefit to organizations and related persons, both directly and indirectly.

Article Details

How to Cite
ธิป่าหนาด ส. (2018). การประเมินความสำเร็จของรายงานทางการเงิน โดยการบันทึกบัญชี ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (E-LAAS) กับการบันทึกบัญชีด้วยระบบมือ ขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดเชียงใหม่. PAYAP UNIVERSITY JOURNAL, 23(1), 73–96. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pyu/article/view/140344
Section
Research Articles

References

กระทรวงมหาดไทย. (2554). ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2547.

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2554). “จํานวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย”. [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ: 11 ตุลาคม 2554 จากhttp://www.thailocaladmin.go.th/

กลุ่มพัฒนาระบบบัญชี สํานักบริหารการคลังท้องถิ่น. (2547). การประเมินความสําเร็จของรายงานทางการเงิน: กรมส้งเสริมการปกครองท้องถิ่น. เอกสารราชการ. คู่มือบันทึกบัญชีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.

กลุ่มพัฒนาระบบบัญชี สํานักบริหารการคลังท้องถิ่น. (2554). ระบบบันทึกบัญชีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS): กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. เอกสารราชการ. คู่มือบันทึกบัญชีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.

กลุ่มพัฒนาระบบบัญชี สํานักบริหารการคลังท้องถิ่น. (2547). ระบบบันทึกบัญชีด้วยมือ (Manual Accounting System): กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. เอกสารราชการ. คู่มือบันทึกบัญชีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น.

โกวิทย์ พวงงาม. (2547). การปกครองท้องถิ่นไทยหลักการและมิติใหมในอนาคต. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.

คณะวิทยาการจัดการและสารสนเทศศาสตร์. (2547). รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายในระดับองค์กร. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

นิตยา มณีรัตน์. (2553). “ได้ศึกษาการใช้ระบบบริหารการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ (e-LAAS) ในจังหวัดเชียงใหม่”. การค้นคว้าอิสระบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วิภา จงรักษ์สัตย์. (2544). “ได้ศึกษาการใช้ระบบคอมพิวเตอร์ในทางบัญชีของธุรกิจในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่”. การค้นคว้าอิสระบัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วัชนีพร เศรษฐสักโก. (2545). ระบบสารสนเทศทางการบัญชี. กรงุเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจํากัด วี เจ พริ้นติ้ง.

ศรัณย์ ชูเกียรติ. (2550). แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางการบัญชี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สํานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่. (2554). “จํานวนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่”. [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ: 11 ตุลาคม 2554 จาก http://local.chiangmai.go.th/

สํานักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดเชียงใหม่. (2554). “ความเป็นมาขององค์การบริหารส่วนตําบล”. [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ: 11 ตุลาคม 2554 จาก http://local.chiangmai.go.th/

อรรถพล ตริตานนท์. (2539). ระบบสารสนเทศทางการบัญชีที่สําคัญ, ไมโครคอมพวิเตอร์, กันยายน 2539, หน้า 137-145.

Maltz, Alan C. (2000). Defining and Measuring Organizational Success: A Multi – dimensional Framework. Doctoral dissertation. Stevens Institute of Technology.