การป้องกันสิทธิตามกฎหมายอาญา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การป้องกันสิทธิตามกฎหมายอาญา เป็นหลักการบังคับใช้กฎหมายด้วยตนเองประการหนึ่งของบุคคลตามประมวลกฎหมายอาญา บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้บุคคลเข้าใจถึงหลักเกณฑ์ในการป้องกันชีวิต ร่างกาย เสรีภาพ ทรัพย์สิน ตลอดจนสิทธิอื่น ๆ และสามารถใช้เป็นหลักในการป้องกันสิทธิของตนเองและผู้อื่นได้ โดยไม่ถือว่าการกระทำดังกล่าวเป็นความผิด ทั้งยังเป็นการช่วยรัฐในการปราบปรามผู้กระทำผิด อันจะส่งผลให้เกิดความสงบสุขในสังคมต่อไป
Article Details
How to Cite
มุ่งดี พ. (2019). การป้องกันสิทธิตามกฎหมายอาญา. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 28(2), 13–20. https://doi.org/10.14456/pyuj.2018.17
บท
บทความวิชาการ
References
เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์. (2551). คำอธิบายกฎหมายอาญา ภาค 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ. (2549). กฎหมายอาญา หลักและปัญหา. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติธรรม.
ธัชพงษ์ วงษ์เหรียญทอง. (2560). อํานาจลงโทษความผิดสากลกับการลงโทษซ้ำตามประมวลกฎหมายอาญาไทย. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 27(1), 91-102.
สหรัฐ กิติ ศุภการ. (2560). กฎหมายอาญา หลักและคำพิพากษา. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).
หยุด แสงอุทัย. (2556). กฎหมายอาญา ภาค 1. พิมพ์ครั้งที่ 21. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สำนักงานแผนงานและงบประมาณ ศาลยุติธรรม. ระยะเวลาพิจารณาคดีเสร็จ ประจำเดือนมกราคม – ธันวาคม พ.ศ.2560. (ออนไลน์) สืบค้นจาก www.oppb.coj.go.th/index.html. (11 กันยายน 2561)
ทวีเกียรติ มีนะกนิษฐ. (2549). กฎหมายอาญา หลักและปัญหา. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์นิติธรรม.
ธัชพงษ์ วงษ์เหรียญทอง. (2560). อํานาจลงโทษความผิดสากลกับการลงโทษซ้ำตามประมวลกฎหมายอาญาไทย. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 27(1), 91-102.
สหรัฐ กิติ ศุภการ. (2560). กฎหมายอาญา หลักและคำพิพากษา. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).
หยุด แสงอุทัย. (2556). กฎหมายอาญา ภาค 1. พิมพ์ครั้งที่ 21. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สำนักงานแผนงานและงบประมาณ ศาลยุติธรรม. ระยะเวลาพิจารณาคดีเสร็จ ประจำเดือนมกราคม – ธันวาคม พ.ศ.2560. (ออนไลน์) สืบค้นจาก www.oppb.coj.go.th/index.html. (11 กันยายน 2561)