ความสำเร็จในการพัฒนาจิตสาธารณะนักเรียน : จากผลงานวิจัยสู่การปฏิบัติ
Main Article Content
บทคัดย่อ
จากผลงานวิจัยเรื่อง รูปแบบการพัฒนาจิตสาธารณะนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ทำให้เกิดการค้นพบรูปแบบและกิจกรรมพัฒนา ซึ่งนำไปสู่การปฏิบัติโดยได้จัดกิจกรรมในโครงการเสริมสร้างศักยภาพครูเพื่อการพัฒนาจิตสาธารณะนักเรียน ส่งผลให้เกิดเป็นความสำเร็จในการพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียน กล่าวคือ นักเรียนมีจิตสำนึกในการดูแลรักษาทรัพย์สินสิ่งของส่วนรวม โดยแสดงพฤติกรรมทั้งที่บ้าน โรงเรียน และสถานที่สาธารณะต่างๆในชุมชนสมาชิกในชุมชนรู้สึกละอายเมื่อต้องทิ้งขยะไม่ลงถัง ส่งผลให้ขยะในชุมชนลดลงอย่างเห็นได้ชัด ประกอบกับครู พ่อแม่ ให้กำลังใจ และเป็นต้นแบบสำคัญทำให้นักเรียนเลียนแบบพฤติกรรมจิตสาธารณะ ดังนั้นความสำเร็จของการพัฒนาจิตสาธารณะนักเรียน ซึ่งสรุปได้ว่าเกิดจากความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจของครู พ่อแม่ และคนในชุมชน
Article Details
How to Cite
พันธ์พลกฤต น. (2019). ความสำเร็จในการพัฒนาจิตสาธารณะนักเรียน : จากผลงานวิจัยสู่การปฏิบัติ. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 28(2), 41–56. https://doi.org/10.14456/pyuj.2018.19
บท
บทความวิชาการ
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
ชาย โพสิตา. (2540). จิตสำนึกต่อสาธารณะสมบัติ: แนวคิดทางสังคมและนัยเชิงนโยบาย. วารสารราชบัณฑิตยสภา, 28 (2), 431-499
ฐิติพร พันธวงค์. (2553). ผลของกิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนาความมีจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต (จิตวิทยาการแนะแนว) มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ.
ดนัย จันทร์เจ้าฉาย. (2552). กลยุทธ์น่านน้ำสีขาว. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี.
ธรรมนันทิกา แจ้งสว่าง. (2547). ผลการใช้โปรแกรมพัฒนาจิตสาธารณะด้วยบทบาทสมมติกับตัวแบบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. ปริญญานิพนธ์ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์.บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
นงนภัส พันธ์พลกฤต. (2555). รูปแบบการพัฒนาจิตสาธารณะนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนประถมศึกษา ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพัฒนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่.
นฤมล มณีงาม. (2547). การพัฒนาโปรแกรมสร้างจิตสำนึกเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานตามหลักการเรียนรู้ด้วยการรับใช้สังคมสำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นันทวัฒน์ ชุนชี. (2546). การใช้ตัวแบบสัญลักษณ์ผ่านหนังสือเรียนเล่มเล็กเชิงวรรณกรรม เพื่อพัฒนาจิตสาธารณะในนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. ปริญญานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บุญทัน ภูบาล. (2549). การใช้วีดีทัศน์ละครหุ่นเชิดเป็นต้นแบบเพื่อพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่2. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการวิจัยและสถิติทางการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564). ราชกิจจานุเบกษา. สำนักนายกรัฐมนตรี. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน ฉบับปี พ.ศ. 2542. (2546). กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คพับลิเคชั่น.
พรพรหม พรรคพวก. (2550). ปัจจัยบางประการที่ส่งผลต่อจิตสาธารณะของนักเรียนช่วงชั้นที่ 4 ในสหวิทยาเขตกรุงเทพตะวันออก. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พิริยา นิลมาตร. (2550). ปัจจัยที่ส่งผลต่อจิตสำนึกสาธารณะของนักเรียนช่วงชั้นที่ 4 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม และ สังคม สัญจร. (2543). สำนึกไทยที่พึงปรารถนา. กรุงเทพฯ : มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย.
มุทิตา หวังคิด. (2547). การฝึกทักษะการแก้ปัญหาโดยนำเสนอสถานการณ์ผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนา จิตสาธารณะในนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
รุ่งจิตร กองคำ. (2541). การพัฒนาจิตสำนึกทางสิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กระบวนการสร้างนิสัย. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการศึกษาประถมวัย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ลัดดาวัลย์ เกษมเนตร และคณะ. (2546). รูปแบบการพัฒนานักเรียนระดับประถมศึกษาให้มีจิตสาธารณะ : การศึกษาระยะยาว. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วีระ บุณยะกาญจน. (2552). ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการเด็ก. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
เวชพล อ่อนละมัย. (2552). จิตสาธารณะ. สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2552, จาก www.kasetyaso.ac.th
สุขุมาล เกษมสุข. (2553). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมจิตสาธารณะของนักเรียนโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม). รายงานการวิจัย. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุนทรี จูงวงค์สุข. (2550). การใช้กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อสร้างเสริมลักษณะนิสัยจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (การสอนสังคมศึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Gaza, G. M. (1981). Group Counseling: A Development Approach. Boston: Allyn and Bacon.
Kohlberg, L. (1973). The Claim to Moral Adequacy of a Highest Stage of Moral Judgment. Journal of Philosophy, 70(18), 630-646.
ชาย โพสิตา. (2540). จิตสำนึกต่อสาธารณะสมบัติ: แนวคิดทางสังคมและนัยเชิงนโยบาย. วารสารราชบัณฑิตยสภา, 28 (2), 431-499
ฐิติพร พันธวงค์. (2553). ผลของกิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนาความมีจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. สารนิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต (จิตวิทยาการแนะแนว) มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ.
ดนัย จันทร์เจ้าฉาย. (2552). กลยุทธ์น่านน้ำสีขาว. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ดีเอ็มจี.
ธรรมนันทิกา แจ้งสว่าง. (2547). ผลการใช้โปรแกรมพัฒนาจิตสาธารณะด้วยบทบาทสมมติกับตัวแบบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. ปริญญานิพนธ์ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์.บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
นงนภัส พันธ์พลกฤต. (2555). รูปแบบการพัฒนาจิตสาธารณะนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนประถมศึกษา ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพัฒนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่.
นฤมล มณีงาม. (2547). การพัฒนาโปรแกรมสร้างจิตสำนึกเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานตามหลักการเรียนรู้ด้วยการรับใช้สังคมสำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นันทวัฒน์ ชุนชี. (2546). การใช้ตัวแบบสัญลักษณ์ผ่านหนังสือเรียนเล่มเล็กเชิงวรรณกรรม เพื่อพัฒนาจิตสาธารณะในนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. ปริญญานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บุญทัน ภูบาล. (2549). การใช้วีดีทัศน์ละครหุ่นเชิดเป็นต้นแบบเพื่อพัฒนาจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่2. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการวิจัยและสถิติทางการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564). ราชกิจจานุเบกษา. สำนักนายกรัฐมนตรี. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน ฉบับปี พ.ศ. 2542. (2546). กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คพับลิเคชั่น.
พรพรหม พรรคพวก. (2550). ปัจจัยบางประการที่ส่งผลต่อจิตสาธารณะของนักเรียนช่วงชั้นที่ 4 ในสหวิทยาเขตกรุงเทพตะวันออก. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการวิจัยและสถิติทางการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พิริยา นิลมาตร. (2550). ปัจจัยที่ส่งผลต่อจิตสำนึกสาธารณะของนักเรียนช่วงชั้นที่ 4 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดร้อยเอ็ด. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม และ สังคม สัญจร. (2543). สำนึกไทยที่พึงปรารถนา. กรุงเทพฯ : มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทย.
มุทิตา หวังคิด. (2547). การฝึกทักษะการแก้ปัญหาโดยนำเสนอสถานการณ์ผ่านสื่อคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนา จิตสาธารณะในนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
รุ่งจิตร กองคำ. (2541). การพัฒนาจิตสำนึกทางสิ่งแวดล้อมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้กระบวนการสร้างนิสัย. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการศึกษาประถมวัย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ลัดดาวัลย์ เกษมเนตร และคณะ. (2546). รูปแบบการพัฒนานักเรียนระดับประถมศึกษาให้มีจิตสาธารณะ : การศึกษาระยะยาว. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วีระ บุณยะกาญจน. (2552). ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการเด็ก. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
เวชพล อ่อนละมัย. (2552). จิตสาธารณะ. สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2552, จาก www.kasetyaso.ac.th
สุขุมาล เกษมสุข. (2553). ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมจิตสาธารณะของนักเรียนโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม). รายงานการวิจัย. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุนทรี จูงวงค์สุข. (2550). การใช้กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อสร้างเสริมลักษณะนิสัยจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต (การสอนสังคมศึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Gaza, G. M. (1981). Group Counseling: A Development Approach. Boston: Allyn and Bacon.
Kohlberg, L. (1973). The Claim to Moral Adequacy of a Highest Stage of Moral Judgment. Journal of Philosophy, 70(18), 630-646.