การพยากรณ์การใช้พลังงานรวมทั้งหมดของประเทศไทย โดยวิธีของบอกซ์-เจนกินส์และโครงข่ายประสาทเทียม
Keywords:
การพยากรณ์, โครงข่ายประสาทเทียม, พลังงาน, forecasting, artificial neural network, energyAbstract
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อหารูปแบบของการพยากรณ์การใช้พลังงานรวมทั้งหมดของประเทศไทย และเปรียบเทียบความแมนยําในการพยากรณระหวางแบบจําลองโครงข่ายประสาทเทียมกับแบบจําลองโดยวิธีบอกซ์-เจนกินส์ โดยใช้ข้อมูลจากสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน ซึ่งเก็บรวมรวบข้อมูลจำแนกเป็นรายเดือนตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2544 ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2554 รวมระยะเวลา 129 เดือน
ผลการศึกษา พบวา สำหรับข้อมูลปริมาณการใช้พลังงานรวมทั้งหมด วิธีที่มีความเหมาะสม คือ วิธีการพยากรณ์โดยใช้โครงข่ายประสาทเทียม ตัวแบบ 4:3:1 โดยมีตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจที่ใช้พยากรณ์ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ มูลค่าการส่งออกสินค้า มูลค่าการนำเข้าสินค้า จำนวนประชากร
ดังนั้นในการศึกษาครั้งนี้เมื่อประเมินประสิทธิภาพดวยค่า RMSE และค่า MAPE แบบจําลองโครงข่ายประสาทเทียม จึงมีความแมนยําในการพยากรณสูงกวาแบบจําลองโดยวิธีบอกซ์-เจนกินส์
Abstract
This research was aimed to predict the total energy consumption in Thailand and to compare the accuracy between two models, --- i.e. artificial neural network and Box-Jenkins with ARIMA model, The secondary data from Energy Policy and Planning Office Ministry of Energy, January 2001 to September 2011 with 129 months, were used.
The results showed that energy consumption the total, method were appropriate is artificial neural networks method, model 4:3:1 with the forecast for economic factors,---viz. Gross domestic product, value export of good, value import of good, the population.
In this study, the artificial neural networks method is higher accuracy in predicting than Box-Jenkins’ method
Downloads
How to Cite
Issue
Section
License
ข้อความที่ปรากฎในวารสารฉบับนี้เป็นความคิดเห็นของผู้เขียนแต่ละท่าน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย และกองบรรณาธิการ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยและไม่มีส่วนรับผิดชอบใดๆ
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย ขอให้ผู้อ่านอ้างอิงในกรณีที่ท่านคัดลอกเนื้อหาบทความในวารสารฉบับนี้