Quality of life of the Elderly in Thayang Sub-District Municipality Thayang District, Phetchaburi Province

Authors

  • ฐากูร หอมกลิ่น Master of Political Science Program, Mahamakut Buddhist University, Sirindhorn Rajavidyalaya Campus

Keywords:

quality of life, elderly, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ

Abstract

 

                 This research aimed to study the quality of life of the elderly in Tha Yang Sub-district Municipality, Tha Yang District, Phetchaburi Province. The sample consisted of 302 elderly in Tha Yang Sub-district Municipality, Tha Yang District, Phetchaburi Province. The instrument used in qualitative research were In-depth interview and quality of life questionnaires, Thai language sets (WHOQOL-BREF-THAI) of Department of Mental Health Ministry of Public Health, by using the data analysis of frequency, percentage, mean and standard deviation.

                 The research results showed that the quality of life of the elderly in Tha Yang Sub-district Municipality, Tha Yang District, Phetchaburi Province, in overall, had a relatively good quality of life. When classified in each aspect, it was found as follows: As for the Environment Aspect, it was found that the elderly had the good quality of life (gif.latex?\bar{X} = 3.34, S.D. = 0.18); the 1st place;  As for the Physical Aspect, it was found that the elderly had the quality of life at quite good level (gif.latex?\bar{X} = 3.22, S.D. = 0.32) the  2nd place ; As for the Aspect of Social Relations, it was found that the elderly had quality of life at a good level (gif.latex?\bar{X} = 3.20, S.D. = 0.25), the 3rd place; As for the Psychological Aspect t, it was found that the elderly had at the quite good level, (gif.latex?\bar{X} = 2.98, S.D. = 0.25),  the 4th place.

                Elderly in Tha Yang Sub-district Municipality, Tha Yang District, Phetchaburi Province, satisfied with hygienic home conditions and communities, housing, good environment including good health, and it was found that the elderly were not interested in their own mental development, due to the deterioration of the body deteriorates naturally and was caused by the weakness of the body. Including feeling of worthlessness, there should therefore advise the elderly with Dharma education and Dhamma practice in order to increase intelligence information Dharma in memory and used in daily life, and it would also promote mental health and endure various difficulties for them.

 

               การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 302 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและแบบวัดคุณภาพชีวิตฉบับย่อชุดภาษาไทย (WHOQOL-BREF-THAI) ของกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน

                 ผลการวิจัยพบว่าคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรีในภาพรวมมีคุณภาพชีวิตอยู่ในระดับ ค่อนข้างดี เมื่อจำแนกเป็นรายด้านได้ดังนี้  ด้านสิ่งแวดล้อมพบว่าผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตด้านสิ่งแวดล้อมอยู่ในระดับดี (gif.latex?\bar{X} = 3.34, S.D. = 0.18) เป็นอันดับที่ 1 ด้านร่างกายพบว่าผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตด้านร่างกายอยู่ในระดับค่อนข้างดี (gif.latex?\bar{X} = 3.22, S.D. = 0.32) เป็นอันดับที่ 2 ด้านความสัมพันธ์ทางสังคม พบว่า ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตด้านความสัมพันธ์ทางสังคม อยู่ในระดับค่อนข้างดี (gif.latex?\bar{X} = 3.20, S.D. = 0.25) เป็นอันดับที่ 3 ด้านจิตใจพบว่าผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตด้านจิตใจอยู่ในระดับค่อนข้างดี (gif.latex?\bar{X} = 2.98, S.D. = 0.25) เป็นอันดับที่ 4 ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลตำบลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี มีความพึงพอใจในสภาพบ้านที่ถูกสุขลักษณะและ ชุมชนที่อยู่อาศัยสภาพแวดล้อมที่ดีร่วมถึงมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงดี และพบอีกว่าผู้สูงอายุยังไม่ให้ความสนใจในเรื่องของการพัฒนาด้านจิตใจของตนเอง เนื่องจากมีความเสื่อมถอยของร่างกายที่ทรุดโทรมลงตามธรรมชาติและเกิดจากความอ่อนแอของร่างกาย ร่วมถึงการรู้สึกว่าตนเองไร้ค่า ควรแนะนำผู้สูงอายุด้วยการศึกษาธรรมและปฏิบัติธรรมเพื่อให้เกิดการเพิ่มพูนข้อมูลด้านสติปัญญา ทางธรรมในด้านความจำ และใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน จะส่งเสริมสุขภาพจิตให้มีความเข้มแข็ง และอดทนต่อความยากลำบากต่างๆ

Downloads

Published

2020-01-08

Issue

Section

Research article