ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับของประชาชนในตำบลลำคลอง อำเภอเมืองจังหวัดกาฬสินธุ์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิ
ใบไม้ตับของประชาชนในตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธ์แุ ละ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ เจตคติและพฤตกิ รรม
การป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือประชาชนในตำบลลำคลอง อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 317
ครัวเรือน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 175 คน ได้จากการสุ่มอย่างมีระบบโดยเลือกกลุ่มตัวอย่างจากครัวเรือนละ 1 คน เก็บข้อมูลโดยใช้
แบบสอบถามในช่วง เดือนมกราคม – พฤษภาคม พ.ศ. 2559 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์หาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน และหาความสัมพันธ์โดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมน ผลการศึกษาพบว่า
กลุ่มตัวอย่างมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับอยู่ในระดับปานกลาง มีเจตคติต่อการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับอยู่
ในระดับดี มีพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับอยู่ในระดับปานกลาง ระดับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับมีความ
สัมพันธ์กับเจตคติต่อการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับโดยมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกัน ในระดับปานกลาง (rs=0.387) อย่างมีนัย
สำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01การศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหน่วยงานสาธารณสุขในระดับชุมชน และองค์การ
ปกครองส่วนท้องถิ่นว่าควรมีการส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับให้มากขึ้นและจัดหา
กิจกรรมหรือเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อปรับเจตคติที่ถูกต้องซึ่งจะส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในระยะยาว
Article Details
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
References
Pattapong. (2014). Risk factors for Opisthorchiasis
in Si Bun Rueang District, Nong Bua Lam Phu
Province, Thailand. Community Health
Development Quarterly Khon Kaen University.
2(1):53-62.
[2] Bureau of General Communicable Diseases,
Department of Disease Control, Ministry of Public
Health. (2014). To Prevent Liver Fluke to Reduce
the Risk of Cholangiocarcinoma. [26 April 2015]
http://thaigcd.ddc.moph.go.th
[3] Department of Disease Control. (2009). Medical
Helminthology. Ministry of Public Health : The
Agricultural Cooperative Federation of Thailand
Limited.
[4] Bureau of Epidemiology, Department of Disease
Control, Ministry of Public Health. (2014). Liver
Fluke. [26 April 2015] http://thaigcd.ddc.moph.
go.th
[5] Pattanarat, Praepet. (2012). Result of Behavior
Consumption Promotion for Liver Fluke
Prevention of the People in Yangtalad District,
Kalasin Province. Master of Public Health Thesis.Burapha University.
[6] Kanngeun, Kanokwan et al. (2011). Knowledge,
Attitude, and Eating Raw Fish Behavior Level of
People in Poe Sub-district, Muang Srisaket.
Sriwanalaivijai. 1(2) : 76-87.
[7] Reunkham, Watcharapong. (2012). Epidemiology
Of Liver Fluke in Kog River Basin Muang
Chiangrai. [27 April2015]. http://www.hs.crru.ac.th.
[8] Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining
Sample Size for Research Activities. Educational
and Psychological Measurement, 30(3), pp. 607-610.
District, Sakon nakhon Province.
[9] Chirawatkul, Aroon. (2013). Statistics for
HealthScience Research. Bangkok : Wittayapat.
[10] Zimbardo, P.G. (1997). Influencing Attitude and
Behavior. (2nd ed.). California : Addison Wesley
Publishing Co.
[11] Chankeuw, Wipawan. (2013). Consumption
Behavior of the Risk Group for Liver Fluke in
Khamsa-ard Sub-district, Sawangdandin District,
Sakon nakhon Province. Khamsa-ard Sub-district
Health Promotion Hospital, Sawangdandin
[12] Chantakheumbong, Thanakon et al.(2014).
Result of the Application of Health Belief Model
and Participatory Learning Process on Behavior
Modification for the Prevention of Liver Fluke.
Journal of Health Science, 22(5) : 822-831.