การรักษาโรคในแบบคติชนวิทยา : กรณีหมอสมุนไพร และหมอรักษาเริมในเขตตำบลบางจาก จังหวัดนครศรีธรรมราช

Main Article Content

เปรมปรีดิ์ โพธิ์ศรีทอง1
วรรณนะ หนูหมื่น2

บทคัดย่อ

งานวิจยั นีม้ งุ่ ศกึ ษาพิธีกรรมและคาถาการรกั ษาโรคในแบบคติชนวิทยาของหมอพืน้ บา้ นในเขตตาํ บลบางจาก จังหวัดนครศรีธรรมราช
โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกต กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักคือ หมอสมุนไพร หมอรักษาเริมและผู้ป่วยทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ด้วยการวิเคราะห์ตามแนวคิดคติชนด้านการสื่อสารการแสดงและแนวคิดคติชนด้านบทบาทหน้าที่ในการอธิบายบทบาทการรักษาโรคใน
แบบคติชนวิทยา ผลการศึกษาพบว่า หมอสมุนไพร และหมอรักษาเริมหมอในขอบเขตการวิจัย มีการประกอบพิธีกรรมการรักษา โดย
ช่วงแรกเป็นการสวดบูชาพระรัตนตรัยและการระลึกถึงครูผู้มอบวิชาความรู้ ช่วงที่สองเป็นการท่องคาถากำกับยาที่ใช้ในการรักษา
ช่วงที่สามเป็นการบอกข้อห้ามและข้อปฏิบัติสำหรับผู้ป่วย
ทั้งนี้คาถาและพิธีกรรมที่ใช้ในการรักษาโรคมีบทบาทในการสร้างความมั่นคงในชุมชน โดยชุมชนได้มีการแพทย์พื้นบ้านเป็นของ
ตนเอง เป็นการช่วยเหลือเกื้อกูลกันภายในชุมชน หมอพื้นบ้านมีความสำคัญไม่เพียงแต่รักษาโรคเท่านั้นแต่ยังเป็นที่ปรึกษาให้กับ
ชาวบ้านในชุมชนด้วย และมีบทบาทในการสร้างความมั่นคงทางด้านจิตใจให้แก่ผู้ป่วยผ่านองค์ประกอบของพฤติกรรมและวัตถุสัญลักษณ์
ในพิธีกรรมที่อ้างถึงพระพุทธศาสนา ครูผู้มอบวิชาความรู้ และคาถาที่ใช้ในการักษาโรค

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1]Sapcharoen, Phennapha. (1999). Thai Traditional
Medicine : Bonds of Life and Culture (Compilation
of Academic Articles Volume 2). Bangkok : The
War Veterans Organization of Thailand.
[2] Phornsiriphong, Saowapha. Usupharat, Pornthip.
and Sabjaroen, Phennapha. (1996). Folk Medicine
Healer’s Wisdom : ACase Study of Master Ken
Lawong. Bangkok : Sahadhammik.
[3] Yasamut, Preecha.(2006). Local Wisdom Regarding
Skin Treatment Through Incantations.Master of
Arts Thesis. Chiang Rai : Chiang Rajabhat
University.
[4] Marknuan, Panwart. (2013). The Role and Transmission
of Magic and Ritual in Folk Healers at Ban
Nong Khao Changwat Kanchanaburi. Master of
Arts Thesis. Bangkok : Chulalongkorn University.
[5] Wamanon, Manote and Sapcharoen, Phennapha.
(1994). Thai Medicine for Primary Health Care.
Bangkok : Primary Health Commission Office.
[6] Uppakanrod, Luang Phor Anan. (2016, 25 September).
Herbal Healer.Tai Suwannaram Temple,
Yothathikan Road, Nakhon Si Thammarat
Province. Interview.
[7] Uppakanrod, Kayson. (2016, 10 December). Herpes-
Herpes Zoster Folk Medicine Healers. 116, Village
No.6, Bang Jak Sub-district, Mueang District,
Nakhon Si Thammarat Province. Interview.
[8] Anderson, WanneeWiboonsawat. (Editor). (1988).
Locality : A New Dimension of Folklore and
Simple Lifestyles. Bangkok : Silapawattanatham.
[9] Saipan, Pichet. (1996). “Naga Belief” Esan Mekong
River Basin : Cultural Life from Contemporary
Rites. Master of Sociology and Anthropology
Thesis. Bangkok : Thammasat University.
[10] Nuankhong, Wasana. (2016, 15 December).
Elderly Patients. 40/18, Village No.6, Bang Jak
Sub-district, Mueang District, Nakhon Si
Thammarat Province.Interview.
[11] Suksawat, Anchalee. (2016). Herpes Patients. 40/14,
Village No.6, Bang Jak Sub-district, Mueang
District, Nakhon Si Thammarat Province.
Interview.
[12] Sakalamahasanghaparinayaka, Somdet Phra
Nyanasamvara Somdet Phra Sangharaja. (2009).
Dictionary of Buddhist Teachings. Bangkok :
Amarin Printing & Publishing.
[13] The Royal Society of Thailand . (1999). The Royal
Institute Dictionary 1999. Bangkok : Nanmee
Books Publications.
[14] Na Thalang, Sirapon. (2014). Folklore Theory :
Methodology for Legend and Folktale Analysis.
Bangkok : Chulalongkorn University.
[15] Kerdmanee, Chalermpol. Fakkham, Suphalak. and
Hutinan, Rangsima. (2007). Unit 15 Situation,
Conservation Methods and Development of Thai
Traditional Medicine. Bangkok : Sukhothai
Thammathirat Open University.