สมรรถนะของนักศึกษาครูด้านการสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21 วิทยาลัยศาสนศาสตร์เฉลิมพระเกียรติกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

Main Article Content

พินโย พรมเมือง1
ทองคำ เกษจันทร์2
พรชัย วันทุม3
ปราณี คืมยะราช4
รุจาภา วันทุม5

บทคัดย่อ

บทความวิจัยเรื่องนี้ เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสมรรถนะของนักศึกษาครูด้านการสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์
ในศตวรรษที่ 21 และเพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะของนักศึกษาครูด้านการสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21จำแนกตามปัจจัย
ทางด้านเพศ สถานภาพ และขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จำนวน 7 คน และ นักเรียน
ครูพี่เลี้ยง และผู้บริหาร จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อย
ละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Mann Whitney U และ Kruskal Wallish H ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษาฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครูมีสมรรถนะของนักศึกษาครูด้านการสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21 อยู่ในระดับมากที่สุด และผลการทดสอบ
สมมติฐาน พบว่า สถานภาพและขนาดของโรงเรียนมีความคิดเห็นต่อสมรรถนะของนักศึกษาครูด้านการสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ใน
ศตวรรษที่ 21 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] Kongsanor, Suriya. (2016). The Role of Thai
Teachers in the 21st Century. 18 May2016,from
Parliament: http://www.parliament.go.th/
ewtadmin/ewt/parliament_parcy/download/article/
article_20150401102120.pdf
[2] Office of the Education Council. (2014). Research
report of Development Approach of Thai
Education and the Preparation for the 21st
Century. Bangkok: Office of the Education
Council.
[3] Office of Higher Education Standards and
Evaluation, Office of the Higher Education
Commission. (2015). Internal Quality Assurance
Manualfor Higher Education 2014. 10 February
2017, Office of the Higher Education Commission:
from;http://www.mua.go.th/users/bhes/QA
MUA58/qa%20manual58/QA_MANUAL30032015.
pdf
[4] Buengmum, Theerasak. (2015). “Students’ Ethical
Development by Buddhist Novices’ Ordination
Process in Summer, Center of Community life
Quality Development, Namphong district,
Khon Kaen province,” Journal of Pathumthani
University. 7(1), page 7-13.
[5] Prommueang, Phinyo and Ketjan, Thongkham.
(2011). Students’ Desired Characteristics
Graduated from Kalasin Buddhist Academic
College. Religious ScienceCollege Report.
Mahamakut Buddhist University.
[6] Chaeornwongsak, Kriengsak. (2016). Problem
Solving Skills ; Essential for Thai Children. 7
February 2017, FromKriengsak Chareonwongsak :
http://www.kriengsak. com/node/1006