การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะวิชาชีพสำหรับผู้บริหารสำนักวิทยบริการ; The Development Professional Competency Enhancing Model for Administrators of Academic Resource Centers

Main Article Content

พรทิพย์ วรกุล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพ่อื พัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะวิชาชีพของผ้บู ริหารสำนักวิทยบริการ กล่มุ ตัวอย่าง
ในการวิจัยเป็นผู้บริหารสำนักวิทยบริหารของมหาวิทยาลัยราชภัฏและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จำนวน 17 คน
การติดตามผลการนำรูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะไปใช้ภายหลังการเสริมสร้างสมรรถนะแล้ว 4 เดือน และการประเมิน
รูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะวิชาชีพการบริหารสำนักวิทยบริการด้วยการใช้แบบจำลอง ซิป (CIPP-Model) ของแดเนียล
แอลสตัฟเฟิลบีม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า
1. การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะการบริหารสำนักวิทยบริการ โดยการรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับ
สมรรถนะด้วยเทคนิควิจัยแบบ EDFR ในการจัดทำเนื้อหาของรูปแบบ แบ่งเป็น 5 หน่วยเรียนรู้ หน่วยที่ 1 - 2 เรียนผ่าน
ระบบเว็บ หน่วยที่ 3 - 5 เรียนรู้ด้วยวิธีอบรมเชิงปฏิบัติการ รูปแบบหลักสูตรเสริมสร้างสมรรถนะ มีความเหมาะสมกับผู้เข้ารับ
การเสริมสร้างอยู่ในระดับมาก โดยผู้เชี่ยวชาญประเมินความสอดคล้องทุกองค์ประกอบของหลักสูตรฝึกอบรมมีความสอดคล้อง
กนั สงู คา่ เฉลยี่ 0.8 – 1.00 แบบทดสอบ และแบบฝึกหัดมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.86 จากการนำรปู แบบฝกึ อบรมไปทดลอง พบว่า
ประสิทธิภาพของหลักสูตรฝึกอบรมภาคทฤษฎีมีค่าเท่ากับ E1/E2 = 86.20/80.00 และภาคปฏิบัติเท่ากับร้อยละ 79.22 ซึ่ง
สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คะแนนผลสัมฤทธิ์ด้านความรู้ของผู้เข้ารับการฝึกอบรม หลังฝึกอบรมสูงขึ้นกว่าก่อนฝึกอบรมมากกว่า
ร้อยละ 50 ของคะแนนที่เหลือ ผลการประเมินการจัดฝึกอบรมในภาพรวมมีความเหมาะสมมากที่สุด
2. การหาประสิทธิภาพรูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะการบริหารสำนักวิทยบริการผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลกับ
กลุ่มตัวอย่างผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิภาพของหลักสูตรฝึกอบรมภาคทฤษฎีมีค่าเท่ากับ E1/E2 = 81.47/80.94 และ
ภาคปฏิบัติเท่ากับร้อยละ 87.57 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดคะแนนผลการประเมินการเสริมสร้างสมรรถนะในภาพรวมมีความ
เหมาะสมมาก
3. การเปรียบเทียบสมรรถนะของผู้บริหารก่อนเข้ารับการเสริมสร้างสมรรถนะและหลังการเข้าอบรมเสริมสร้าง
สมรรถนะ พบว่า คะแนนเฉลี่ยของการทำแบบทดสอบหลังฝึกอบรมสูงขึ้นกว่าก่อนฝึกอบรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับ .05 และเมื่อพิจารณาร้อยละของผลต่างของคะแนนหลังการฝึกอบรมกับคะแนนที่เหลือจากคะแนนก่อนการฝึกอบรม
พบว่า มีผลสัมฤทธิ์ทางด้านความรู้เพิ่มขึ้นจากคะแนนที่เหลือร้อยละ 56.41
4. การประเมินติดตามผลหลังการเสริมสร้างสมรรถนะผู้บังคับบัญชามีความคิดเห็นต่อผู้บริหารสำนักวิทยบริการที่
เข้ารับการเสริมสร้างสมรรถนะโดยรวมอยู่ในระดับมาก การติดตามผลความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในสำนักวิทยบริการ
ที่ผู้เข้ารับการอบรมเสริมสร้างสมรรถนะการบริหารสำนักวิทยบริการปฏิบัติงานพบว่ามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
จากผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำสมรรถนะการบริหารสำนักวิทยบริการและรูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะไปใช้
ในการพัฒนาการบริหารและปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพ
คำสำคัญ : สมรรถนะการบริหารสำนักวิทยบริการ / รูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะวิชาชีพ / สมรรถนะการบริหาร

This research aimed to develop a model for enhancing professional competency in management
of academic resource centers. Subjects for the study were 17 administrators of academic resource
centers of Rajabhat Universities and Technology Rajamangala Universities. A follow-up study was
conducted 4 months after implementation of the model, and evaluation of the model was based on
the CIPP-Model of Daniel L. Stufflebeam. Data were analyzed by using package software. Findings
of the study can be concluded as follow:
1. Development of the model for enhancing professional competency in management of academic
resource centers was conducted through the use of EDFR (Ethnographic Delphi Futures Research)
in order to gather information regarding “competency” and to derive the model contents, that were
later divided into 5 learning units: Unit 1 - 2 were learned through the internet and Unit 3 - 5 through
a workshop training. It was found that the training curriculum for enhancing professional competency
was highly appropriate and the overall congruence of the training curriculum was found at the high
level (0.8-1.00). The reliability of the test was 0.86. Results of the tryout of the training model revealed
that the efficiency index of theory training was 86.20/80 and the efficiency of practice was 79.22, which
were higher than the established criteria. The trainees’ post-test achievement was higher than 50%
increase in residual growth scores and the overall appropriateness of the training was found at
the highest level
2. Regarding the efficiency of the model for enhancing professional competency in management
of academic resource centers based on analysis of the data gathered from the sample group, it was
found that the efficiency of the theory training curriculum was 81.47/80.94, and the efficiency of
the practical training curriculum was 87.57, which were higher than the established criteria; and the overall
professional competency training was highly appropriate.
3. Comparison of the administrators’ pre and post training competency revealed that their
post-test achievement was higher than that of the pretest at the .05 level of significance and 56.41%
increase in residual growth scores.
4. The follow-up evaluation after use of the model for enhancing professional competency
revealed that the overall opinion of trainees’ supervisors/employers was found at the high level
(χ− = 4.00, S.D. =0.26). The assessment of satisfaction of those provided with services of the academic
resource centers under the trainees’ management revealed an overall high level of satisfaction.

Article Details

บท
บทความวิจัย