กลไกการถ่วงดุลอำนาจตามโครงสร้างของเทศบาล

Main Article Content

ปรางศรี ทิพย์รักษา

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการถ่วงดุลอำนาจของสมาชิกสภาเทศบาลที่ได้รับการเลือกตั้งแบบยกทีม และแบบ
คละทีม รวมถึงปัญหาและอุปสรรคในการถ่วงดุลอำนาจตามโครงสร้างของเทศบาล และแนวทางในการพัฒนาศักยภาพในการตรวจสอบ
ถ่วงดุลของเทศบาล 4 แห่งในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ระเบียบวิธีวิจัยในการศึกษา คือ การศึกษาเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก
ฝ่ายบริหาร ฝ่ายสภา ข้าราชการในเทศบาล และประชาชน ผลการศึกษา พบว่า การถ่วงดุลอำนาจตามโครงสร้างของเทศบาลระหว่าง
เทศบาลที่สมาชิกสภาเทศบาลได้รับการเลือกตั้งแบบคละทีมและยกทีม โดยข้อเท็จจริงแล้วมีวิธีการปฎิบัติการที่เหมือนกัน และปัญหา
ที่พบในการตรวจสอบถ่วงดุลก็ไม่แตกต่างกัน ซึ่งปัญหาที่พบมากที่สุดคือ นายกเทศมนตรีมีอำนาจมากเกินไปทำให้เกิดการผูกขาด
ทางการบริหาร เนื่องจากสภาเป็นฝ่ายเดียวกับฝ่ายบริหารทั้งหมด ทำให้ฝ่ายบริหารมีเสียงข้างมากในสภา เสียงส่วนน้อยจึงไม่ค่อยมีผลก
ระทบต่อฝ่ายบริหารมากนัก และเนื่องจากเป็นเสียงส่วนน้อยจึงทำให้เกิดความเกรงใจในการปฎิบัติงานและต้องทำตามเสียงส่วนใหญ่
การแสดงความคิดเห็นที่แตกต่างก็เป็นไปได้ยาก ถึงแม้จะมีสภาเทศบาลเป็นองค์ประกอบหลักในการถ่วงดุลอำนาจตามโครงสร้างของ
เทศบาลก็ตาม แต่ในทางปฏิบัติแล้วสภาเทศบาลก็ไม่ได้ช่วยคานอำนาจของฝ่ายบริหารเลย ซํ้ายังมีแนวโน้มไปในทางเอื้อผลประโยชน์
ใหฝ้ า่ ยบริหารอีกดว้ ย ดงั นั้น ควรที่จะเพิ่มความเขม้ แข็งของสภาโดยการทำใหฝ้ า่ ยสภาสามารถมอี ำนาจในการตรวจสอบไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง
และที่สำคัญฝ่ายสภาต้องไม่เป็นฝ่ายเดียวกับฝ่ายบริหารเพื่อให้กลไกการถ่วงดุลอำนาจสามารถทำงานได้อย่างเต็มที่

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] Chaisida Apichat. (2008). Problems of Monitoring
and Balancing Authority in Municipal Administra
tion : A Case Study of Ku Ka Sing District
Municipality. Kaset Wisai District Roi Et
Province. Master of PoliticalScience Independent
Study. Mahasarakham University.
[2] Puangngam, Kovit. (2003). Thai local government
Principles and new dimensions in the future.
Bangkok. Winyuchon
[3] Israchai Yutthapon . (2006). Role and Functioning
of Local Councils in Local Government. King
Prajadhipok’s Institute.
[4] Binreem Wasan. (2010). Check and balance
mechanisms between legislative and executive
branches of Prik sub-district administration
organization, Sadaodistrict, Songkha province.
Master of public administrationIndependent Study.
Khonkaen University.
[5] Orathai Kokpol and Thanitha Sukkawattana. (2007).
Enhancing governance system of local creative
organizations : case study of Tambon Municipality
and Subdistrict Administration Organization. King
Prajadhipok’s Institute.
[6] Charoentanawat Kriangkrai. (2011). Basic Principles
of Public Laws on Constitutional State and Law.
Bangkok. Winyuchon.
[7] Singha katie Banjerd. (2009). Fundamentals of
Freedom and human dignity. Bangkok. Winyuchon.