การพัฒนารูปแบบปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของผลการประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Main Article Content

สมเพชร มัชปะโม
อรัญ ซุยกระเดื่อง
ณัฏฐชัย จันทชุม

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและพัฒนารูปแบบปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของผลการประเมินคุณภาพภายนอก
ของโรงเรยี นระดับการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน 2) ตรวจสอบความสอดคลอ้ งกลมกลนื ของรปู แบบทผี่ วู้ จิ ยั พฒั นาขนึ้ กบั ขอ้ มูลเชงิ ประจกั ษแ์ ละ
3) ทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของรูปแบบโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน 2 ขั้นตอน คือขั้นตอนที่1การสร้างและปรับรูปแบบ
ด้วยระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพขั้นตอนที่2 ตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของรูปแบบปัจจัยเชิงสมมติฐานกับข้อมูลเชิงประจักษ์
และทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนด้านรูปแบบด้วยระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นโรงเรียนระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษารอบสามจากสมศ. จำนวน
560 โรงเรียน ได้มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูปSPSS และMplusVersion7
ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของผลการประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้น
ฐานประกอบด้วยตัวแปรแฝง6 ตัว ได้แก่ ภาวะผู้นำทางวิชาการ สมรรถนะองค์กร การจัดกระบวนการเรียนรู้ บรรยากาศของโรงเรียน
พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน และความสำเร็จของผลการประเมินคุณภาพภายนอกโรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานตัวแปรแฝง
ทั้งหมดวัดจากตัวแปรสังเกต18 ตัวแปร รูปแบบมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ปัจจัยที่มีอิทธิพลทางตรงเรียงค่า
สัมประสิทธิ์อิทธิพลจากค่ามากไปหาค่าน้อยคือ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ภาวะผู้นำทางวิชาการ สมรรถนะองค์กร พฤติกรรมการ
เรียนของนักเรียน และบรรยากาศของโรงเรียนปัจจัยที่มีอิทธิพลทางอ้อมเรียงค่าสัมประสิทธิ์อิทธิพลจากมากไปหาน้อย คือภาวะผู้นำ
ทางวิชาการส่งผ่านการจัดกระบวนการเรียนรู้ สมรรถนะองค์กร กระบวนการเรียนรู้ พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน และบรรยากาศ
ของโรงเรียนสมรรถนะองค์กรส่งผ่านบรรยากาศของโรงเรียนและการจัดกระบวนการเรียนรู้ส่งผ่านพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน ส่วน
ปจั จยั ทมีี่อิทธพิ ลรวมเรยี งค่าสัมประสิทธอิ์ ิทธพิ ลจากมากไปหานอ้ ยคือภาวะผนู้ ำทางวิชาการ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ และสมรรถนะ
องค์กรและรูปแบบปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของผลการประเมินคุณภาพภายนอกของโรงเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่มีการ
แปรเปลี่ยนด้านรูปแบบ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

[1] Kongtab Kaibpanitkru. (2004). National Economic
and Social Development Board No.9 (2002 - 2006).
Bangkok : BJ Plate Processors Limited Partnership.
[2] Prudchaya Wesarach. (2012). What is the
difference between a Thai university and a uni
versity?. From http://office.nu.ac.th/council/
web2012/index.php.
[3] Office of Nation Education Standards and Quality
Assessment (Public Organization). (2013).
Summary of external quality assessment,
Academy level of basic education (Third round
2011-2015), Budget Yeas 2011-2013. Bangkok :
Offset Plus Co., Ltd.
[4] Rattana Buason. (2012). Integrative Approach for
Research and Evaluation. Bangkok : Publisher of
Chulalongkorn University.
[5] Sonthoraphot Damrongphanich. (2011). Mplus
Program and Behavioral and Social Sciences
Analysis. Mahasarakham : Mahasarakrm
University.[6] Office of the Basic Education Commission. (2011).
Quality Assessment Guidelines According to Basic
Education Standards for Internal quality
assurance of educational institutions. Bangkok :
The National Buddhist Printing Office.
[7] Phimphorn Chaiya. (2009). Causal Factors Affecting
The Success Of Small Schools Management Under
The Office Of The Basic Education Commission.
Journal of Educational Administration Burapha
University, 4 (1),October 2009 - March 2010
[8] Samrit Kangpheng. (2008). Administrative Factors
Affecting School Effectiveness : Model
Development and Validation. Doctor of Education
Thesis in Educational Administration, Graduate
School, KhonKaen University.
[9] Surajed Chaiyaphanphong. (2006). Development Of
Causal Relationship Model Of Elements
Influence To Effective School Administration Of
Private Vocational Schools. Journal of Education
Naresuan University, 8 (1), 65-83
[10] Pattana Seehanu. (2010). A Causal Relationship
Model of Factors Influencing the Effectiveness of
small Schoolunder the Educational Service Areas
Office in the Northest Doctor of Philosophy
Program in Educational Administration, Loei
Rajabhat University.
[14] Buasri, Saroj. (2002). A Philosophy of Education for
Thailand : the Confluence of Buddhism And
Democracy. Bangkok. Printing House of
Thammasat University.