การพัฒนาบุคลิกภาพผู้นำนักนิเทศศาสตร์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บุคลิกภาพที่ดีหรือพึงประสงค์เป็นปัจจัยสำคัญที่จะนำไปสู่ความเข้าใจพฤติกรรมมนุษย์การพัฒนาบุคลิกภาพนักนิเทศศาสตร์เพื่อความเป็นผู้นำเป็นกระบวนการหล่อหลอมและพัฒนาบุคคลอย่างเป็นระบบ (System) ภายใต้สถานการณ์อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมทางสังคม สถาบัน และการเรียนรู้อย่างพร้อมมูลเพื่อให้บุคคลมีบุคลิกภาพทางด้านการเป็นผู้นำที่มีความเฉลียวฉลาดสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้เป็นอย่างดีตลอดจนมีการเรียนรู้ที่จะมีบทบาทในฐานะต่าง ๆ แห่งตนอย่างเหมาะสม การพัฒนาบุคลิกภาพผู้นำที่ดีมีลักษณะอันพึงประสงค์ (Good Characteristic and Personality) ภายใต้หลักการ และแนวคิดตามทฤษฎีว่าเป็นสิ่งหรือคุณลักษณะที่สามารถพัฒนาให้เกิดขึ้นได้ถ้าบุคคลผู้นำนั้น ๆ เห็นในคุณค่าความสำคัญ และจิตใจที่มีความพร้อมแน่วแน่ในการแก้ไข และพัฒนาบุคลิกภาพที่ดีซึ่งเป็นจุดมุ่งหมายอันจะส่งผลเป็นคุณประโยชน์แก่ตนเอง และบุคคลผู้นำโดยทั่วไปเพื่อเสริมความเหมาะสมในการประกอบอาชีพโดยเฉพาะผู้นำด้านนิเทศศาสตร์หรือนักประชาสัมพันธ์ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นจะต้องเป็นผู้มีบุคลิกภาพผู้นำที่ดี และเหมาะสมเพื่อสร้างความมั่นใจ และความเชื่อมั่นแห่งตน (Self Confidence)บุคลิกภาพผู้นำ ในทางบวกอันได้แก่ 1) มีภาวะความเป็นผู้นำ (Leadership)และมีเสน่ห์ (Charming) 2) มีบุคลิกลักษณะที่ดี และมารยาทงดงาม 3) มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด (I.Q.)และความมั่นคงทางอารมณ์ (E.Q.) 4) มีสมาธิความเชื่อมั่นในตนเอง (Self-confidence) 5)มีการแต่งกายที่ดีเหมาะสมกับกาลสมัย และในภาพลักษณ์รวมแห่งบุคลิกภาพที่สง่างาม และเฉิดฉายซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับบุคลิกภาพผู้นำในสาขาอาชีพต่าง ๆ ด้วย
Article Details
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
References
ฉัตรวรรณ ตันณะรัตน์. (2558). หลักการพูดเบื้องต้น.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ดารณี พานทอง ภาลสุข. (2544). ทฤษฎีการจูงใจ.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ธำรงศักดิ์ บามีนจักร และ วัชรี ทรัพย์มี. (2556). การพัฒนาบุคลิกภาพ.ปทุมธานี: บริษัทศูนย์หนังสือครุศรีส่งจำกัด.
นภาภรณ์ อัจอริยกุล. (2558). การพัฒนาบุคลิกภาพ และการเข้าสังคม ประสบการณ์วิชาชีพนิเทศศาสตร์.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ธนา ปักษ์ลิณ. (2558). บุคลิกภาพ และการปรับตัว.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ท้องหล้า.
ธัญญภัสร์ ศิรธัชนราโรจน์. (2559). จิตวิทยากับการพัฒนาตน.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นิภา นิชยายน. (2554). การปรับตัว และบุคลิกภาพ.กรุงเทพฯจิตวิทยาเพื่อการศึกษา. สาระศึกษา การพิมพ์.
ปดิวรัดา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา. (2549). การสื่อสารมมวลชน.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
ปดิวรัดา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา. (2562). การพัฒนาบุคลิกภาพในการประชาสัมพันธ์.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.
ปดิวรัดา ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา. (2542). การประชาสัมพันธ์.เพชรบุรี: สาขานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
พรรณราย ทรัพยะประภา. (2557). จิตวิทยาในการจัดการกับความเหนื่อยหน่าย และความเครียดในการทำงาน.Journal of health and health management1.1.
รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2546). ปัจจัยด้านเชาวน์อารมณ์บุคลิกภาพเเละภาวะผู้นำที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการทำงานของผู้ใต้บังคับบัญชา และผลการปฏิบัติงานของหัวหน้างานระดับกลางในองค์การธุรกิจ. Thai Journal of Public Administration1.3.
รัตติกรณ์ จงวิศาล. (มปป.). สมบัติผู้ดี.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คุรุสภา
สมคิด บางโม. (2544). หลัก และทฤษฎีบริหารการศึกษา.กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏพระนคร.
สถิต วงศ์สวรรค์. (2556). การพัฒนาบุคลิกภาพ.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์รวมสาส์น.
Allport GordornW. (1992). BecomingConsiderating for a Psychology of Personality. London: Yale University Press.
Berney, Edward L. (2019). Public Relation. Norman University of Oklahoma Press.
Davidoff, Linda L. (1997). Introduction to Psychology.New York: McGrew Booh Company.
Desmond S. Cartwright. (1974). Introduction to Personality.(Chieags: Rand McNally College, p. 135)
Derriman, James Parkyns. (1964). Public relations in business management. University of London Press.
Hillgard R Earnest. (1998). Introduction to Psychology.New York HarertBace and World Inc.
Mc Neil, E.B. (1994). The Psychology of Being Human.New York: Harper and Roos.
Neivson, Dong and AlanScott. (1994). This is PR.: The Relation of Public Relation. California Madeworth.
BERRY, Roger Stephen. (1997). Collins Cobuild English guides 10: determiners and quantifiers. Harper Collins Publishers.
Schedlitzki, Doris, and Gareth Edwards. (2017). Studying leadership: Traditional and critical approaches. Sage.
Sullivan, Harry Stack. (1999). The Psychiatric Interview.New York: Newton and Company Inc.
Whittaker, T.O. (1989). Introduction to Psychology. Tokyo.