การศึกษาการจัดการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติการเขียนแบบเครื่องกลเชิงสร้างสรรค์สำหรับครู
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องการศึกษาการจัดการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติการเขียนแบบเครื่องกลเชิงสร้างสรรค์สำหรับครู มีวัตถุประสงค์การวิจัย 1) ศึกษาการจัดการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติและผลงานสร้างสรรค์ 2) วิเคราะห์ความเชื่อมโยงทักษะปฏิบัติและผลงานสร้างสรรค์วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพโดยวิธีการสังเคราะห์เอกสาร ตำรา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับทักษะปฏิบัติ เครื่องมือวิจัย แบบบันทึกการสังเคราะห์ เอกสาร หนังสือ ตำรา และงานวิจัยที่เกี่ยวกับทักษะปฏิบัติ และผลงานสร้างสรรค์นำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์
ผลการวิจัยพบว่า
- ผลการศึกษาการจัดการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติและผลงานสร้างสรรค์ ได้องค์ความรู้การเรียนการสอนทักษะปฏิบัติ มีการสอน 3 ขั้น คือ (1) ขั้นการรับรู้ (2) ขั้นปฏิบัติ (3) ขั้นประเมินผล
ผลการศึกษาความเชื่อมโยงทักษะปฏิบัติและผลงานสร้างสรรค์ มีความเชื่อมโยงกับ มิติทักษะปฏิบัติขั้นการรับรู้และขั้นปฏิบัติได้ผลงานสร้างสรรค์ความแปลกใหม่และมีคุณค่าใช้แก้ปัญหาได้เหมาะสม และมิติทักษะปฏิบัติและมิติการประเมินผลได้ผลงานสร้างสรรค์ความละเอียดลออและการสังเคราะห์
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: ครุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี.กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
ชาตรี รัตนวงศ์. (2542). การประเมินผลการส่งเสริมนักศึกษาช่างเทคนิคของวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
ชาญชัย ยมดิษฐ์. (2548). เทคนิคและวิธีการสอนร่วมสมัย.กรุงเทพฯ: หลักพิมพ์.
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2555). 80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ท่เี น้นผู้เรียนเป็นสาคญั . กรุงเทพฯ: แดเน็กซ์อินเตอร์คอร์ปอเรชัน.
ชลิต กังวาราวุฒิ. (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบศิลปภิวัฒน์ผ่านคลาวด์เทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมผลงานสร้างสรรค์ตามแนวเศรษฐกิจสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระนครเหนือ.
บุญธง วสุริย์. (2546). การพัฒนารูปแบบการสอนเพื่อการถ่ายโยงทักษะปฏิบัติสา หรับอาชีวอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2556). การคิดวิเคราะห์ เลม่ 2. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์หา้ งหุน้ ส่วนจา กัด 9119 เทคนิคพริ้นต้งิ .
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2558). พูดเรื่องอุดมศึกษา: รวมคา บรรยายและอภิปรายทางการอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
มยุรี ตันติโรจน์. (2536). ผลของวิธีสอนทักษะตามหลักการของดี เชค โก ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มการงานและพื้นฐานอาชีพของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.(วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต).กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (อัดสำเนา).รายงานการสา รวจการบริการวิชาการ สถานประกอบการในจังหวัด
มหาสารคาม. (2561). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2557). คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี. สืบค้น จาก http://www.onec.go.th/onec_web/main.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). สรุปสาระสา คัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ:สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติสำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักงานสภามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. (2547). พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ 2547.(เอกสารอัดสำเนา)
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2547). การประชุมวิชาการการวิจัยทางการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์และทาปกเจริญผล.หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562. (2562). มหาสารคาม:มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
สมใจ สืบเสาะ. (2556). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบสร้างสรรค์บนเว็บเพื่อส่งเสริมความคดิ สร้างสรรค์สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้พระนครเหนือ.
สุดา อุ่นยะนาม. (2563). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างความสามารถการผลิตผลงานสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. มหาสารคาม:(วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต).มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2551). กรอบทิศทางพัฒนาการศึกษาในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) ที่สอดคลอ้ งกับแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2545-2559): ฉบับสรุป. (พิมพ์ครงั้ ที่ 2).กรุงเทพฯ: สา นักพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อารีย์ พันธ์มณี. (2547). ฝึกใหคิ้ดเป็น คิดใหส้ ร้างสรรค์.(พิมพ์ครงั้ ที่ 3). กรุงเทพฯ: ใยไหม.
Anderson, L W, & Krathwohl D R. (2002). A Taxonomy for Learning, Teaching, and Assessing: A Revision of Bloom's Taxonomy of Educational Objectives.New York: Longman.
Bloom, B.S. (1976). Human Characteristic and School Learning. New York: McGraw-Hill.Besemer, S. P. & Treffinger, D. J. (1981). Analysis of creative products: Review and synthesis. Journal ofCreative Behavior, 15, 158-178.
Besemer and o’Quin. (1993). Creative Product Semantic Scale. In Sternberg 1999 Hand book of Creativity.Cambridge Universsity Press.
Beghetto, R. A. (2006). Creativity self-efficacy: Correlates in middle and secondary students. Creative Research Journal, 18(4), 47-457. Kris Jamsa, Konrad King, Andy Anderson. (2002). HTML& Webdesign: tips & techniques. York: McGraw-Hill/Osborne.
Taylor CW. (1964). Creativity: Progress and Potential.New York: McGraw-Hill.