อภิธานศัพท์: ศาสตร์พระราชา (ในหลวงทรงสอนอะไร)
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความเรื่องนี้ กำหนดวัตถุประสงค์ไว้ว่า 1) เพื่อรวบรวมพระราชดำริ พระราชดำรัส พระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งถือเป็นศัพท์เฉพาะทาง หรืออภิธานศัพท์ของพระองค์ท่าน 2) เพื่อให้พสกนิกรชาวไทยและชาวโลกได้รู้และเข้าใจถึงในศาสตร์พระราชา 3) เพื่อเผยแพร่ศาสตร์พระราชาที่เป็นประโยชน์อย่างมหาศาลต่อพสกนิกรชาวไทยและชาวโลกให้แพร่หลาย 4) เพื่อให้พสกนิกรชาวไทยและชาวโลกได้ศึกษาศาสตร์พระราชาแล้วนำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวัน และ5) เพื่อแสดงออกถึงความกตัญญูและไว้อาลัยแด่พระองค์ท่านที่ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อพสกนิกรชาวไทยและชาวโลกอย่างหาที่สุดมิได้ ได้ศึกษาค้นคว้า รวบรวม เรียบเรียงโดยอาศัยผู้รู้ ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือแหล่งเรียนรู้ที่น่าเชื่อถือเป็นแนวทางในการเขียน จำนวน 23 คำ ได้แก่ กระป๋องคนจน กังหันน้ำชัยพัฒนา แกล้งดิน ขาดทุนคือกำไร เข้าใจเข้าถึงการพัฒนา ครองแผ่นดินโดยธรรม ครูแห่งแผ่นดิน ทฤษฎีการพัฒนาฟื้นฟูป่า ทฤษฎีใหม่ ปัจจัยสู่ความสำเร็จ ป่าแถวทหาร ปิดทองหลังพระ โปรแกรมตัวอักษรเทวนาครี ฝนหลวง ภูมิสังคม ระเบิดจากข้างใน รางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์ รางวัลผู้นำโลกด้านทรัพย์สินทางปัญญา รางวัลเหรียญอะกริคอรา รู้ รัก สามัคคี วันดินโลก เศรษฐกิจพอเพียง และ อุปกรณ์ดักหมอก
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
References
คม ชัด ลึก. (2559). สหประชาชาติถวายสดุดีในหลวง "ราชันผู้ยิ่งใหญ่". [Online] แหล่งที่มา: http://www.komchadluek.net/news/foreign/247209. [16 มกราคม 2560].
เกษม วัฒนชัย. (2549). การเรียนรู้ที่แท้และพอเพียง. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน
สุเมธ ตันติเวชกุล. (2557). ตามรอยยุคลบาท ครูแห่งแผ่นดิน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ธงทอง จันทรางศุ. (2559). บุญเหลือเมื่อได้เกิดแผ่นดินนั้น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มติชน
โรม บุนนาค. (2559). “แกล้งดิน” วิธีดัดนิสัยดินไร้ประโยชน์ให้เปลี่ยนมาเป็นประโยชน์! นวัตกรรมใหม่ที่โลกเพิ่งรู้!!. [Online]. แหล่งที่มา: http://www2.manager.co.th/OnlineSection/ViewNews.aspx?NewsID=9590000122503.pdf. [10 ธันวาคม 2559].
สายล่อฟ้า. (2559). บางเรื่องที่ไม่เคยรู้. [Online] แหล่งที่มา: http://www.thairath.co.th/ content/755516. [15 ธันวาคม 2559].
กระทรวงการต่างประเทศ. (2560). ข่าวเด่น: WIPO ทูลเกล้าฯ ถวายเหรียญรางวัลผู้นำโลกด้านทรัพย์สิน ทางปัญญาแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. [Online] แหล่งที่มา: http://www.mfa.go.th/main/th/media-center/28/11-WIPO- ……..[16 มกราคม 2560].
กรมธนารักษ์. (2559). เหรียญกษาปณ์ที่ระลึกที่กรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง. [Online] แหล่งที่มา: http://business.treasury.go.th/knowledge/detail.php?id=120&GroupID=10. [15 ธันวาคม 2559].
กรมพัฒนาที่ดิน. (2557). วันดินโลก (World Soil Day). [Online] แหล่งที่มา: http://www.ldd.go.th/WEB_World-Soil/Detail_1.html. [19 มกราคม 2560].
สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.). (2555). จอมปราชญ์แห่งการพัฒนา ทฤษฎีใหม่. กรุงเทพมหานคร: บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2542). พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวกับการจัดการทรัพยากรการผลิตทาง การเกษตร ทฤษฎีใหม่: แนวทางการจัดการที่ดินและน้ำเพื่อการเกษตรที่ยั่งยืน. [Online] แหล่งที่มา: https://web.ku.ac.th/king72/254209/res05_02.html [5 ธันวาคม 2559].
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการเขลางค์นคร. (2556). ศาสตร์พระราชาจากภูผาสู่มหานที. [Online] แหล่งที่มา: www.kasetporpeangclub.com หรือ phetchabun.police.go.th/uploads/File/king-science.pdf. [30 ธันวาคม 2559].
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2559). แก้มลิง. [Online] แหล่งที่มา:https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%87.[15 ธันวาคม 2559].
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2559). รางวัลความสำเร็จสูงสุดด้านการพัฒนามนุษย์. [Online] แหล่งที่มา:https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0 %B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A7%...........[4 ธันวาคม 2559].
ผู้จัดการ ออนไลน์. (2559). "กษัตริย์นักวิทยาศาสตร์ดินเพื่อมนุษยธรรม" ของโลก. [Online] แหล่งที่มา:http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9590000116682.[20 มกราคม 25560].
ผู้จัดการ ออนไลน์. (2560). อดีตช่างกรมชลฯ “ปราโมทย์ ไม้กลัด” ยอดขุนพลชลศาสตร์ในรัชกาลที่ 9. [Online] แหล่งที่มา:http://www.manager.co.th/OnlineSection/ViewNews.aspx?NewsID= 9600000004823. [19 มกราคม 2560].
Priyanut Dharmapiya. (2016). Cultivating a Sufficiency-mindset in Thai Schools. [Online] Available from: https://drive.google.com/file/d/0ByOJKeWgkMLRcWJTbVkxeVhLbkE/view[December 16, 2016].
Terry Fredrickson. (2013). The Raknam Kaem Ling project. [Online] Available from: http://www.bangkokpost.com/learning/learning-news/357919/the-raknam-kaem-ling-project. [December 16, 2016].
Avery, G.C. & Bergsteiner, H. (2016). Sufficiency Thinking: Thailand’s Gift to an Unsustainable World. Sydney: Allen & Unwin.
จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา. (2559). ศาสตร์พระราชา ‘เศรษฐกิจพอเพียง’ พัฒนา’ปท.-โลก’ อย่างยั่งยืน. [Online] แหล่งที่มา: tp://www.matichon.co.th/news/166427. [16 มกราคม 2560].
สมคิด จาตุศรีพิทักษ์. (2559). คำต่อคำ: จับสัญญาณเศรษฐกิจไทย มองเศรษฐกิจโลกยุคโลกาภิวัตน์หมุนกลับและอนาคต ไทยแลนด์ 4.0 จากปาก “สมคิด จาตุศรีพิทักษ์”. [Online] แหล่งที่มา: http://www.manager.co.th/iBizChannel/ViewNews.aspx?NewsID=9590000120900. [5 ธันวาคม 2559].
สถาบันดำรงราชานุภาพ สำนักงานปลัดกระทรวง มหาดไทย. (2555). หลักการทรงงานของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพมหานคร: บริษัท บพิธการพิมพ์ จำกัด.