ความไพเราะของบทเพลงพระราชนิพนธ์สู่ท่วงท่านาฏยลีลา

Main Article Content

ณัฐพร เพ็ชรเรือง

บทคัดย่อ

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช  ทรงมีพระปรีชาสามารถในด้านดนตรี  พระองค์ทรงเป็นนักดนตรี  นักประพันธ์  นักเรียบเรียงเสียงประสาน  บทเพลงพระราชนิพนธ์ทรงเป็นบทเพลงที่ทรงคุณค่า  เพราะเนื้อหาของบทเพลงเป็นการถ่ายทอดเรื่องราวและชีวิตของผู้คนในสังคม  เมื่อดนตรีและเนื้อร้องสอดประสานจนเกิดเป็นท่วงทำนองที่ไพเราะ  นาฏศิลป์หรือการเต้นรำก็เป็นสิ่งที่เพิ่มอรรถรสหรือสีสันของการแสดงให้น่าชมและน่าฟังมากยิ่งขึ้น  นาฏศิลป์หรือการเต้นรำสามารถสอดประสานกับบทเพลงพระราชนิพนธ์ได้อย่างกลมกลืน  โดยสามารถสะท้อนเรื่องราวของชีวิตและสังคม  จนก่อให้เกิดสุนทรียภาพและคุณค่านานาประการ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี. (2559). เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช,สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2559. จาก https://th.wikipedia.org/wiki/เพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช

อภิโชติ เกตุแก้ว. (2559, 25 ตุลาคม). สัมภาษณ์โดย ณัฐพร เพ็ชรเรือง ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สุรินทร์ เมทะนี. (2559, 5 พฤศจิกายน). สัมภาษณ์โดย ณัฐพร เพ็ชรเรือง ที่มหาวิทยาลัยปทุมธานี

ศิริมงคล นาฏยกุล. (2559). มโนห์ราบัลเลต์ รัชกาลรัชกาลที่ 9 (บัลเลต์ไทยเรื่องแรกในประวัติศาสตร์ชาติไทยและของโลก) พระอัจฉริยภาพที่คนไทยไม่เคยรู้มาก่อน, สืบค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2559. จาก https://www.matichon.co.th/news/332397

วิชัย สวัสดิ์จีน. (2559, 25 ตุลาคม). สัมภาษณ์โดย ณัฐพร เพ็ชรเรือง ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

ชุมพล ชะนะมา. (2559, 9 พฤศจิกายน). สัมภาษณ์โดย ณัฐพร เพ็ชรเรือง ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี. (2559). ยิ้มสู้, สืบค้นเมื่อ 4 พฤศจิกายน 2559. จากhttps://th.wikipedia.org/wiki/ยิ้มสู้