ศาสตร์ของพระราชา : ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
Main Article Content
บทคัดย่อ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชได้พระราชทานให้แก่ประชาชนเป็นแนวทางในการดำรงชีวิตเพื่อให้ประชาชนอยู่ดีมีสุขสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างเข้มแข็งและยั่งยืน ซึ่งเป็นที่ยอมรับของนานาประเทศว่าเป็นแนวทางในการปฏิบัติอันทรงคุณค่าอย่างหาที่สุดมิได้ เป็นองค์ความรู้ที่ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน เป็นการสร้างความสมดุลต่อการเปลี่ยนแปลงทันต่อโลกในยุคโลกาภิวัตน์ผ่านโครงการอันเนื่องจากพระราชดำริต่าง ๆ จำนวนมากกว่า 4,000 โครงการ เพื่อเป็นต้นแบบแก่ประชาชนนำไประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและดำเนินชีวิตเกิดผลลัพธ์เชิงประจักษ์ว่าเป็นองค์ความรู้ที่ส่งผลให้เกิดความยั่งยืน ใช้ได้กับทุกแห่งหนในโลกศาสตร์ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างยั่งยืนนี้ จึงได้รับการยอมรับว่าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ ศาสตร์ของพระราชา
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
References
จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา.ศาสตร์พระราชา “เศรษฐกิจพอเพียง”. มติชน รายวัน 9 มิถุนายน 2559ค้นที่ http://www.matichon.co.th/news/322579
วรเดช จันทศร. (2554). “การน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการจัดการภาครัฐ,” วารสารปัญญาภิวัฒน์. 2(2); มกราคม – มิถุนายน.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.(2548). แนวคิดยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 . กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
Klemke, E. D., Hollinger, R., Rudge, D. W., and Kline, A. D. (eds) (1998) Introductory Readings in the Philosophy of Science, Buffalo, New York: Prometheus Books.
สุเมธ ตันติเวชกุล.(2556). ตามรอยพระยุคลคลบาทครูแห่งแผ่นดิน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร. (2551). เศรษฐกิจรากหญ้า. กรุงเทพฯ : แสงดาว.
ประเวศ วะสี. (2549).พระเจ้าอยู่หัวกับรหัสการพัฒนาใหม่. กรุงเทพฯ : ร่วมด้วยช่วยกัน.
คณะอนุกรรมการคัดเลือกการประกวดผลตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง.(2553). ตัวอย่างความสำเร็จของการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ.