การวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยของการผลิตนักศึกษาวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธรจังหวัดขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ 2560
Main Article Content
บทคัดย่อ
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น ได้เล็งเห็นความสำคัญของการวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยในการผลิตนักศึกษา
สัดส่วนค่าใช้จ่ายในการจัดการเรียนการสอน เพื่อวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการบริหารจัดการหลักสูตร ให้มีประสิทธิผล และ
ประสิทธิภาพ ในมุมมองของผู้ผลิต มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาต้นทุนต่อหน่วยในการผลิตนักศึกษา ปีงบประมาณ 2560 การเก็บ
ข้อมูลแบบการศึกษาแบบย้อนหลัง ใช้หลักเกณฑ์การคำนวณตามระเบียบที่กรมบัญชีกลางกำหนด และมีระบบกำกับงบประมาณ
เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เก็บข้อมูลตามระบบต้นทุนฐานกิจกรรม ผลการศึกษาพบว่า การผลิตนักศึกษาทั้ง 4 หลักสูตร มี ต้นทุน
ทางตรง (Direct cost) 48,670,248.21 บาท ต้นทุนทางอ้อม (Indirect cost) 26,967,070.93บาท และ ต้นทุนรวม (Total cost)
จำนวน 75,637,319.13 บาท ต้นทุนต่อหน่วยในการผลิตนักศึกษาของวิทยาลัยฯ เฉลี่ยเท่ากับ 137,522.40 บาท จำแนกตาม
หลักสูตร ดังนี้ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาทันตสาธารณสุข จำนวน 153,924.39 บาท หลักสูตรสาธารณสุขศาสตร
บัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน จำนวน 117,094.64 บาท หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงสาธารณสุขศาสตร์ สาขาวิชา
เทคนิคเภสัชกรรม จำนวน 105,293.05 บาท และ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์
จำนวน 181,064.39 บาท จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (ค่าFTES) เท่ากับ 618.30 มีต้นทุนต่อหน่วยของการผลิตนักศึกษา
เต็มเวลาเทียบเท่า เท่ากับ 122,331.10 บาท สัดส่วนของต้นทุน ค่าแรง ต่อ ค่าวัสดุ ต่อ ค่าลงทุน เฉลี่ยเท่ากับ 62.90 ต่อ 11.03
ต่อ 25.31 ผลการศึกษาครั้งนี้ วิทยาลัยฯสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ ใน การจัดโครงสร้างองค์กร การบริหารจัดการหลักสูตร การจัด
ภาระงาน การจัดทำแผนและงบประมาณ รวมทั้งการวางแผนการลดต้นทุน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุณภาพในการ
ปฏิบัติงาน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
References
Hoy, W.K. and Miskel C.G., (2008). Educational Administration. 8th Edition. New York : The McGraw Hills Companies, Inc.
Jatuporn Pengchai and others. (2012). Assessment and Intervention Program for Grade 1st - 6 th Students with At-Risk in Academic Failures at Thetsaban Srisawat School. Mahasarakham. Rajabhat MahaSarakham University Journal, 6(1),January-Aprill.ว.มรม. ปีที่ 12 ฉบับที่ 3 : กันยายน - ธันวาคม 2561 337 RMU.J. 12(3) : September - December 2018
Tharinthorn Namwan. (2018) Teacher Development by Educational Supervision Innovations for Increasing Learning Achievement of Schools under Office of The Basic Education Commission.Journal of Education Mahasarakham University,12(3), July-September.
Karn Ruangmontri and Tharinthorn Namwan. (2014). Academic Adminstration and Innovation for Learning Management. Mahasarakham : Abhichat Publishing.
Banjobpron Khamjan, Karn Ruangmontri and Khumdee Jantaket. (2014). A Model of The Use Information Systems for Management Education on Nong Khai Primary Educational Service Area Office 2. Journal of Education Mahasarakham University, Special 2014, September.
Porntip Roengnissai, Tharinthorn Namwan and Khumdee Jantaked. (2014). The Development of Information Systems for The Administration of The School Under The Secondary Educational Service Area Office 21. Journal of Education Mahasarakham University, Special 2014, 16 September.
Piriya Pholphirul, SiwatTeimtad. (2016) Economics of Pre-Primary Education in Thailand. Applied Economics Journal, 23(1), June 2016.
The Comptroller General’s Department. (2008) Rules and Calculation for Cost of Production. Public Accounting Standards Office, The Comptroller General’s Departmentใ
Government Gazette.(2003). The Royal Decree on Criteria and Procedures for Good Governance.Vol. 120 Chapter 100 A.
Chiang Mai University. (2009). The Analyzing Cost Per Head of Full Time Students at Chiang Mai University in Fiscal Year 2006 and 2007.Planning Division, Chiang Mai University.
] Pawida Noipun. (2007). The Analyzing Cost Per Head of Under Graduate Students Case Study : Thammasat University.
Chiang Mai University. (2011). An Analysis of Unit Cost : Chiang Mai University in Fiscal Year 2009. Planning Division, Chiang Mai University.
Soraya MoungKrung. (2014). Unit Cost of Produce Graduate Medical Faculty of Madicine, Sri Nakharinwirote University. Independent Study, Master Degree of Business in Accounting Faculty of Business, Rajamangala University of Technology, Thanyaburi.