การพัฒนาทักษะการโต้แย้งอย่างมีเหตุผล โดยการจัดการเรียนรู้แบบประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์เป็นฐาน
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผลการวิจัยจากวงจรปฏิบัติการที่ 1 พบว่า มีนักเรียนผ่านเกณฑ์ 16 คน โดยภาพรวมคะแนนทักษะการโต้แย้งอย่างมีเหตุผลของนักเรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 6.50 มีระดับการโต้แย้งอยู่ในระดับดี เนื่องจากนักเรียนมีปัญหาในการเข้าใจเนื้อหาที่เรียน หรือเขียนอธิบายเหตุผล ที่เลือกคำตอบแสดงความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนจากที่ศึกษา และเรื่องระยะเวลาที่ใช้ในการทำกิจกรรมที่ค่อนข้างจำกัดทำให้บางกิจกรรมที่ทำไม่ทันเวลาบ้าง ผู้เรียนยังไม่สามารถบอกเหตุผลสนับสนุน ข้ออ้างได้มากกว่า 1 เหตุผล ด้วยเหตุนี้จึงจัดการเรียนการสอนโดยนําเสนอประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์เป็นฐาน ผ่านทางสื่อวิดีทัศน์ หรือการแสดงบทบาทสมมุติ การโต้วาที และสามารถหาความรู้ได้จากแหล่ง การเรียนรู้ที่หลากหลาย วงจรปฏิบัติการที่ 2 มีนักเรียนผ่านเกณฑ์ 22 คน โดยภาพรวมคะแนนทักษะการโต้แย้งอย่างมีเหตุผลของนักเรียน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 6.83 มีระดับการโต้แย้งอยู่ในระดับดี จากผลการศึกษานี้สามารถสรุปได้ว่า การเรียนรู้แบบประเด็นทางสังคม ที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์เป็นฐานสามารถพัฒนาทักษะการโต้แย้งอย่างมีเหตุผลผู้เรียนได้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุม สหกรณ์แห่งประเทศไทย.
กฤษฎา ทองประไพ ศศิเทพ ปิติพรเทพิน กฤษณา ชินสิญจน์ และอรยา แจ่มใจ. (2559). การพัฒนาทักษะการโต้แย้งของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในหน่วยการเรียนรู้เรื่อง อาหารกับการดำรงชีวิต โดยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคมที่่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์เป็นฐาน. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 7(1), 48-61.
ชรินทร์ทิพย์ ศุขศาสตร์. (2560). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามประเด็นวิทยาศาสตร์กับสังคม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะการโต้แย้งอย่างมีเหตุผลและเจตคติต่อชีววิทยา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ณัฐวัตร อ้ายแก้ว และสุมาลีชูกำแพง. (2564). การพัฒนาทักษะการโต้แย้งทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์. วารสารครุพิบูล, 8(1), 135-147.
ธัญลักษณ์ ราซิ่ว, ศศิเทพ ปิติพรเทพิน, บุญเสฐียร บุญสูง และสุรเดช ศรีทา. (2563). การพัฒนาการให้เหตุผลเชิงจริยธรรมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยจัดการเรียนรู้โดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวเนื่องกับวิทยาศาสตร์เป็นฐาน. วารสาร NGRC มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 21, 529-538.
บุศมาพร กันทะวัง. (2562). แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดประเด็นทางวิทยาศาสตร์และสังคม เพื่อส่งเสริมการรู้พันธุศาสตร์ เรื่อง เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. (วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2551). การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามแนวคิด Sociocentric. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2(3), 99-106.
ภาวิณี รัตนคอน. (2562). การพัฒนาเกณฑ์การประเมินทักษะการโต้แย้งโดยใช้ประเด็นทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปกร, 11(2), 2720-2735.
วนิดา ผาระนัด และประสาท เนืองเฉลิม. (2561). การโต้แย้งอย่างมีเหตุผล: ทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 37(2), 174-181.
วีระชน ผดุงกิจนิรันดร์. (2562). การพัฒนาการโต้แย้งอย่างมีเหตุผลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้ประเด็นทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวเนื่องกับสังคม. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ศึกษา).มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ศศิเทพ ปิติพรเทพิน. (2558). การจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์กับสังคมแห่งศตวรรษที่ 21. สมุทรปราการ: บอสส์การพิมพ์.
สุรีย์วัลย์ พันธุระ และสุมาลี ชูกำแพง. (2561). การพัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับประเด็นวิทยาศาสตร์กับสังคม เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 12(3), 196-206.
Alindra, A Ana. (2008). Argumentation and Reasoning Skills In Sociocentric Issues. INVOTEC, 14(2), 44-54.
Arika, A., Lentika, D. L., Al Lathifah, S. A. S., Suliyanah, S., Admoko, S., & Suprapto, N. (2021). Research Trend of Socio Scientific Issues (SSI) in Physics Learning Through Bibliometric Analysis in 2011-2020 using Scopus Database and the Contribution of Indonesia. Jurnal Penelitian Pendidikan IPA, 7(4), 682-692.
Dawson, V. M., and G. Venville. (2010). Teach-ing strategies for developing students argumentation skills about socioscientific issues in high school genetics. Research in Science Education, 40, 133-14.
Eilks, I. (2010). Making chemistry teaching relevant and promoting scientific literacy by focusing on authentic and controversial socio-scientific issues. Presentation at the annual meeting of the society for didactics in chemistry and physics, Potsdam Germany.
Kemmis, S & McTaggart, R. (1988). The Action Research Planer (3 ed.). Victoria: Deakin University.
Sadler, T. D., & Donnelly, L. D. (2005). Socioscientific Argumentation: The effects of content knowledge and morality. International Journal of Science Education, 28(12), 1463-1488.
Sadler, T. D., & D, L. Z. (2004). The morality of socioscientific issues: Construal and resolution of genetic engineering dilemmas. Science and Education, 88(1), 4-27.
Smith, M. & Steinhauer, J. (2018). Why is genetics education so important. Trends in Genetics, 34(1), 1-4.