การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษแบบสถานการณ์จำลองร่วมกับบทบาทสมมติ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1.กิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษแบบสถานการณ์จำลองร่วมกับบทบาทสมมติ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 75.51/76.50 2.นักเรียนที่เรียนภาษาอังกฤษด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบสถานการณ์จำลองร่วมกับบทบาทสมมติ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3.นักเรียนมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเรียนรู้แบบสถานการณ์จำลองร่วมกับบทบาทสมมติโดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.79, S.D. = 0.32)
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา
References
กรรณิกา สร้อยบุดดา. (2553). การจัดกิจกรรมการพัฒนาความสามารถด้านการพูดภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. (วิทยานิพนธ์ปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน).มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
กานต์ญาณิศา สุนทร. (2564). การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ชวาล แพรัตกุล. (2520). เทคนิคการวัดผล (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช.
ณัฐชญา บุปผาชาติ. (2561). การใช้กิจกรรมบทบาทสมมติเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม.
ดรุณวรรณ สุวลักษณ์. (2563). การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้สถานการณ์จำลองชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. รายงานวิจัยในชั้นเรียน.
นิธิวัฒน์ โสชะดา. (2562). การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนกันทรลักษ์วิทยา โดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยาเขตุอุบลราชธานี.
บวรจิต พลขันธ์. (2551). การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้สถานการณ์จำลอง. (การศึกษาค้นคว้าอิสระ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยการวัดผลประเมินผล. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
พิชญาภา กล้าวิจารณ์. (2560). การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
พิสุทธา อารีราษฎร์. (2551). การพัฒนาชอฟต์แวร์ทางการศึกษา. มหาสารคาม: หจก. อภิชาติการพิมพ์.
ไพศาล วรคำ. (2555). การวิจัยทางการศึกษา. มหาสารคาม: ตักสิลาการพิมพ์.
วันเพ็ญ ไขลายหงส์. (2551). การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการพูดภาษาอังกฤษ โดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมุติ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1. (การศึกษาค้นคว้าอิสระ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วิภาวี ไชยทองศรี. (2563). การพัฒนาความสามารถด้านการฟัง-พูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยการใช้สถานการณ์จำลองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
สมนึก ภัททิยธนี. (2545). การวัดผลการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.
สุริยะ ประทุมรัตน์. (2556). การพัฒนาความมั่นใจในการพูดภาษาอังกฤษของนักศึกษาสาขาสังคมศึกษา ระดับปริญญาตรี โดยใช้รางวัลในการเสริมแรงทางบวก. (วิทยานิพนธ์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ). สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครสกลนคร.
สุวัฒน์ชัย ถุนาพรรณ์. (2555). การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. โรงเรียนท่าขอนยางพิทยาคม องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม. (วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.