การพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราของประเทศไทย กรณีศึกษา จังหวัดนครศรีธรรมราช

Main Article Content

คุณัณญา ปรินจิตร์
รัตพงษ์ สอนสุภาพ

บทคัดย่อ

การศึกษาการพัฒนาอุตสาหกรรมยางพาราของประเทศไทย กรณีศึกษา จังหวัดนครศรีธรรมราช มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหา แนวทางการดำเนินงานของภาครัฐ นโยบาย รวมถึงการเป็นการขับเคลื่อนการกำหนดนโยบาย ตลอดจนวิธีการแก้ไข แนวทางปฏิบัติร่วมกัน ในการสร้างมูลค่าเพิ่มและสร้างความสามารถทางการแข่งขันของอุตสาหกรรมยางของประเทศไทย โดยผลการศึกษาละวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร งานวิจัยเชิงเอกสาร (Document Research) โดยเป็นข้อมูลระหว่าง ปี 2565-2566 และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกรายบุคคล (In-depth interview) ในช่วงปี 2566 พบว่า อุตสาหกรรมยางพาราของประเทศไทย ต้องมีการปรับตั้งแต่โครงสร้างการผลิตที่เป็นการผลิตแบบดั้งเดิมใช้แรงงานค่อนข้างมากเป็นการใช้เครื่องจักรและระบบการผลิตที่เป็นมาตรฐาน โดยภาครัฐต้องส่งเสริมการรวมกลุ่มการผลิตของอุตสาหกรรมยางแบบเฉพาะแต่ละพื้นที่โดยคำนึงถึงปริมาณและลักษณะผลผลิตในแต่ละพื้นที่ทั้งนี้ ภาครัฐยังต้องส่งเสริมการพัฒนาสินค้าให้ตรงความต้องการของตลาดทั้งในมุมของการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ รวมถึงการติดตามกฎระเบียบการค้าระหว่างประเทศที่ปัจจุบันมาตรการทางสิ่งแวดล้อม เช่น ระเบียบ EUDR หรือมาตรการ Carbon Credit อย่างใกล้ชิด เพื่อให้อุตสาหกรรมยางของประเทศไทย เป็นอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าเพิ่มและเป็น First move ในเวทีการแข่งขันระดับโลก

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2564). “อลงกรณ์” ชี้แนวโน้มเสถียรภาพและราคายางปี 64 ทิศทางดีขึ้นหลังเดินหน้า 5 ยุทธศาสตร์เฉลิมชัย. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://www.opsmoac.go.th/jakarta-news-preview 431191791473.

กรมการค้าภายใน. (2567). ยางพารา สัปดาห์ที่ 4 ของเดือนมกราคม 2567. สืบค้นเมื่อ 24 กรกฎาคม 2567 จาก https://regional.moc.go.th/th/file/get/file/202401295635ee303e261977776a5f722b583ad9085422.pdf.

กรมการจัดหางาน. (2563). แนวทางการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว 3 สัญชาติ (กัมพูชา ลาว และเมียนมา) ตามมติ ครม. เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2563. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2566 จากhttps://www.doe.go.th/prd/ main/custom/param/site/1/cat/40/sub/0/pull/detail/view/detail/object_id/1593.

กรมพัฒนาที่ดิน. (2564). แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก จังหวัดนครศรีธรรมราช. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://www.ldd.go.th/Agri-Map/Data/S/nrt.pdf

กัญญา ผันแปรจิตต์ และคณะ. (2559). การวิเคราะห์ปัจจัยเพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันสำหรับผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไม้ยางพาราแปรรูปในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://opac. rmutsv.ac.th/Catalog/BibItem.aspx?BibID=b00102360.

คุณัณญา ปรินจิตร์. (2561). การศึกษารูปแบบอุตสาหกรรมยางที่เหมาะสมกับประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยยาง. การยางแห่งประเทศไทย.

ทัศนนันท์ พิทักษ์เสถียร. (2560). วิเคราะห์ศักยภาพ การแข่งขันของอุตสาหกรรมถุงมือยางของประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สงขลา: มหาวิทยาสงขลานครินทร์.

นฤมล พึ่งทอง. (2557). ปัจจัยภายในองค์กรและปัจจัยภายนอกองค์กรที่มีความสัมพันธ์กับการส่งออกของ อุตสาหกรรมยางรถยนต์จากประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน. (2557). การพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์การยางพาราสู่การเป็นผู้นำโลกของประเทศไทย. 9 พฤษภาคม 2557 ณ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์. นนทบุรี: สำนักพิมพ์ปัญญาภิวัฒน์.

ภานุวัฒน์ ตริยางกูรศรี. (2560). แนวทางการพัฒนาศักยภาพของแรงงานให้ตอบสนองต่อนโยบาย อุตสาหกรรม 4.0. หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 60, วิทยาลัยป้องกัน ราชอาณาจักร. สืบค้นเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2563 จาก http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/ndc_ 2560-2561/PDF/8478e/%E0%B8%A3%E0%B8%A7% E0%B8%A1.pdf.

ศรายุ แสงสุวรรณ์. (2561). การศึกษาตัวแบบการจัดการอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ไม้ยางพารา เพื่อการส่งออกของประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสยาม.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์, สมชาย หิรัญกิตติ และสมศักดิ์ วานิชยาภรณ์. (2545). ทฤษฎีองค์การ. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์. (2566). ตลาดส่งออกสำคัญของไทยรายสินค้า. สืบค้นเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2566 จาก http://tradereport. moc.go.th/Report/Default.aspx?Report=Menucom TopNRecode&Option=3&Lang=Th&ImExType=1

สมยศ นาวีการ. (2538). การบริหารเชิงกลยุทธ์ Strategic Management. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้า.

สุธี อินทรสกุล, บัญชา สมบูรณ์สุข และปุรวิชญ์ พิทยาภินันท์. (2560). อุตสาหกรรมยางพาราไทย: สถานภาพและแนวทางการพัฒนาสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 8, 80-107.

สุเทพ นิ่มสาย. (2564). ศักยภาพทางการค้าและโอกาสทางการตลาดการส่งออกผลิตภัณฑ์หมอนและที่นอนยางพาราไทยในตลาดประเทศญี่ปุ่น. (สารนิพนธ์). มหาวิทยาลัยมหิดล.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). ครม. เห็นชอบการกำหนดพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ 4 ภาค. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://www.nesdc. go.th/ewt_news.php?nid=13017&filename=index.

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2563). ยางพารา: เนื้อที่ยืนต้นเนื้อที่ กรีดได้ ผลผลิต และผลผลิตต่อไร รวมทั้งประเทศ รายภาค และรายจังหวัด ปี 2563. สืบค้นเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2566, จาก https://www.oae.go.th/assets/portals/1/fileups/ prcaidata/files/para%20rubber63.pdf.

สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2563). สรุปข่าวการประชุมคณะรัฐมนตรี 9 มิถุนายน 2563. สืบค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://www.thaigov.go.th/news/ contents/details/32084.

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์. (2566). สินค้าส่งออกสำคัญของไทยตามโครงสร้างสินค้าส่งออก. สืบค้นเมื่อ 24 กรกฎาคม 2567 จาก https://tradereport. moc.go.th/Report/Default.aspx?Report=MenucomRecode &ImExType=1&Lang=Th.

Bright hup PM project management. (2011). PESTLE Analysis history and application. Retrieved from http://www.brighthubpm.com/projectplanning/100279-pestle-analysis-history-andapplication/

Kondratieff, N., & Stolper, W. (1935). The Long Waves in Economic Life. The Review of Economics and Statistics, 17(6), 105-115. doi:10.2307/1928486

Michael E, Porter. (1990). Competitive Advantage. New York. USA. Free Press.

Schumpeter, J. (1934). The Theory of Economic Development. Cambridge: Harvard University Press.