ปัจจัยทางการบริหารและวัฒนธรรมองค์กรที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม The Administrative and Organizational Culture Factors Affecting the Effectiveness of Local Government in Maha Sarakham Province

Main Article Content

วิทยา เจริญศิริ
สัญญา เคณาภูมิ
ภักดี โพธิ์สิงห์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ประการแรก เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประการ
ที่สอง เพื่อศึกษาปจั จัยที่มีอิทธิพลตอ่ ประสิทธิผลการดำเนินงานขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น และประการที่สาม เพื่อศึกษาแนวทาง
การเพิ่มประสิทธิผลการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยศึกษาในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม กลุ่มตัวอย่าง คือ องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม (ยกเว้นองค์การบริหารส่วนจังหวัด) ได้แก่ เทศบาล และองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน
104แห่ง ได้มาโดยการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตร ทาโร ยามาเน่ และใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random
sampling) ด้วยวิธีการจับสลาก (Lottery method) ผู้ให้ข้อมูลแห่งละ 3 คน ซึ่งผู้ให้ข้อมูลจะแยกกันตอบคนละฉบับ รวมจำนวนผู้
ให้ข้อมูลเท่ากับ 312 คน และกลุ่มเป้าหมายผู้ร่วมประชุมระดมสมองประกอบด้วย ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปลัดองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ทรงคุณวุฒิสายวิชาการและผู้นำชุมชน รวม 20 คน เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วน
ประมาณค่ามีความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.89 และชุดคำถามที่ใช้ในประชุมระดุมสมอง (Brian storming) สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่
ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณเชิงเส้น (Multiple linear regression analysis)
ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) ผลการวิจัยพบว่า
1. ประสิทธิผลการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคามโดยรวมพบว่า อยู่ในระดับมากพิจารณา
เป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด จำนวน 1 ด้าน และอยู่ในระดับมาก จำนวน 10 ด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้
ด้านสาธารณสุขและสุขภาพ ด้านการศึกษา ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้านการป้องกันยาเสพติด ด้านการกีฬาและศาสนา
ด้านการอนุรักษ์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านการเมืองการบริหาร ด้านครอบครัว เด็ก เยาวชนสตรี
ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส ด้านการพัฒนาอาชีพ ด้านโครงสร้างพื้นฐานและด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยว
2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม โดยรวม ได้แก่
ค่านิยมร่วมของบุคลากรวัฒนธรรมองค์กรแบบราชการการจัดการเชิงกลยุทธ์ระบบบูรณาการเทคโนโลยีวัฒนธรรมองค์กรแบบปรับตัว
และ ทักษะของบุคลากร ค่าสัมประสิทธิ์ถดถอยในรูปคะแนนดิบ คือ 0.175, 0.113, 0.113, 0.123, 0.057 และ 0.090 ตามลำดับค่า
สัมประสิทธิ์ถดถอยในรูปคะแนนมาตรฐาน คือ 0.291, 0.164, 0.246, 0.150, 0.160 และ 0.124 ตามลำดับ ตัวแปรดังกล่าวสามารถ
ร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของประสิทธิผลการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม ได้ร้อยละ 35.8
(R2 = 0.358, F= 28.110) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการพยากรณ์ประสิทธิผลการดำเนินงานของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคามโดยรวม ดังนี้

สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ
Y = 2.174 + 0.175 (ค่านิยมร่วมของบุคลากร) + 0.113 (วัฒนธรรมองค์กรแบบราชการ) + 0.113 (การจัดการเชิงกลยุทธ์)
+ 0.123 (ระบบบูรณาการเทคโนโลยี) + 0.057 (วัฒนธรรมองค์กรแบบปรับตัว) +0.090 (ทักษะของบุคลากร)
สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน
Z = 0.598 + 0.291 (ค่านิยมร่วมของบุคลากร) + 0.164 (วัฒนธรรมองค์กรแบบราชการ) + 0.246 (การจัดการเชิงกลยุทธ์)
+0.150 (ระบบบูรณาการเทคโนโลยี) +0.160 (วัฒนธรรมองค์กรแบบปรับตัว) +0.124 (ทักษะของบุคลากร)
3.แนวทางการเพิ่มประสิทธิผลการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม ได้แก่ เน้นการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในทุกกระบวนการทั้งร่วมคิดวิเคราะห์ปัญหา การกำหนดแนวทางพัฒนา ติดตามประเมินผลตรวจสอบการดำเนินงานอย่าง
ต่อเนื่อง ผู้บริหารต้องมีวิสัยทัศน์กว้างไกลโดยเฉพาะผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง ทรัพยากรการบริหารต้องเพียงพอโดยเฉพาะงบประมาณ
บุคลากรภายในองค์กรต้องมีสมรรถนะสมบูรณ์ และมีการบูรณการเทคโนโลยีที่ทันสมัยสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

This research aimed to study the effectiveness of local government, to study the factors affecting
the effectiveness of local government, and to study the approaches for increasing the effectiveness of local
government. The sample was comprised of 104 local government employeesin Maha Sarakham province,
namely: Municipality and the Sub-district administrative organization (except for the provincial administrative
organization). The sampling sizewas selected byTaro Yamane, and the simple random sampling with the
lottery method was used. There were 3 persons per each group, and an information provider was assigned
to each group. The target population for brainstorming was 20 peopleselected from the executive, the
permanent secretary, the academic luminaries, and the community leaders. The instruments for collecting
data were a five rating scale questionnaire with 0.89 of reliability and the brainstormingquestions. The statistics
were frequency, percentage, mean, standard deviation and multiple linear regression analysis. The quality
data was analyzed by the content analysis.
The research results were found as follows;
1. The overall effectiveness of local government was at a high level.The results revealed one data
point at the highest level and eleven points at the high level.The arithmetic mean sorted from highest to lowest
is as follows:the healthand wellness, the education, the environment and natural resources, the drug prevention,
the sports and religion, the conservation of arts and culture/tradition and local wisdom, the politics and
administration, the family/children/youth/women/elderly and disadvantaged, the career development, the
infrastructure, and the tourism promotion respectively.
2. The factors affecting the effectiveness of local government werethe shared values of personnel,
the bureaucratic culture, the strategic management, the technology integration systems, the adaptation cultural
and the personnel skillsby statistical significant at .05 levels. The regression coefficients of raw score were
0.175, 0.113, 0.113, 0.123, 0.057 and 0.090; the standardized regression coefficients were 0.291, 0.164, 0.246,
0.150, 0.160 and 0.124. These variances can predict the effectiveness of local governmentfor 35.8 (R2 = 0.358,

Article Details

บท
บทความวิจัย