การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาพฤติกรรมเสริมสร้างสังคมของนักศึกษา ตามแนวคิดการปรับพฤติกรรมทางปัญญา A Development of Activity Organizing Model for Developing Prosocial Behavior of Students based on Cognitive Behavior Modification Approach

Main Article Content

ศิริภิญญา ตระกูลรัมย์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของรูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาพฤติกรรมเสริมสร้างสังคมของนักศึกษาตาม
แนวคิดการปรับพฤติกรรมทางปัญญา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาชีววิทยา หมู่ 1 ชั้นปีที่
1 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม จำนวน 29 คน โดยผู้วิจัยได้มาโดยการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive sampling)
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ รูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาพฤติกรรมเสริมสร้างสังคมของนักศึกษาตามแนวคิดการ
ปรับพฤติกรรมทางปัญญา แบบรายงานตนเอง และแบบประเมิน ผลการวิจัยพบว่า
1. หลังเข้าร่วมรูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาพฤติกรรมเสริมสร้างสังคมของนักศึกษาตามแนวคิดการปรับพฤติกรรม
ทางปัญญา นักศึกษาสามารถประเมินตนเองด้านการช่วยเหลือผู้อื่น พฤติกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อผู้อื่น การเสียสละ และกระทำในสิ่ง
ที่ดีด้วยความสมัครใจ
2. หลังเข้าร่วมรูปแบบการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาพฤติกรรมเสริมสร้างสังคมของนักศึกษาตามแนวคิดการปรับพฤติกรรม
ทางปัญญา นักศึกษามีความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม

The purposes of this study were to study the effects of activity organizing model for developing
prosocial behavior of students based on cognitive behavior modification. Subjects used in the study consisted
of 29 first year students who were majoring in biology at the Faculty of Education, selected through purposive
sampling technique. The instruments used in this study were activity organizing model for developing prosocial
behavior of students based on cognitive behavior modification, self report form, and evaluation form. The
research findings were as follows:
1. After intervention, the students can evaluate themselves to help other people, have beneficial behavior
to other people, to make sacrifice and to do the great things voluntarily.
2. The students were satisfied with activity organizing model for developing prosocial behavior of
students based on cognitive behavior modification.

Article Details

บท
บทความวิจัย