การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบทีมแข่งขัน TGT วิชา งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นสำหรับนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ Developing a Web-Based Instruction Program by Using the Team Game Tournament Cooperative learning Mod

Main Article Content

ธนะศักดิ์ อาคมศิลป์ ธนะศักดิ์ อาคมศิลป์

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ประการแรก เพื่อพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบทีมแข่งขัน
(TGT) วิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ตามเกณฑ์ 80/80 ประการที่สอง เพื่อ
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างกลุ่มนักศึกษาเรียนด้วยบทเรียนบนเครือข่ายโดยใช้การเรียนรู้ร่วมมือรูปแบบทีมแข่งขัน
(TGT) กบั กลมุ่ นักศกึ ษาเรียนแบบปกติ ประการที่สาม เพื่อศึกษาดชั นปี ระสิทธิผล ของนักศึกษาที่เรียนบทเรียนบนเครือขา่ ยโดยใชก้ าร
เรียนรู้ร่วมมือรูปแบบทีมแข่งขัน (TGT) และประการที่สี่ เพื่อหาความพึงพอใจ ของนักศึกษา ที่ได้เรียนด้วยบทเรียนบนเครือข่ายโดย
ใช้การเรียนรู้ร่วมมือรูปแบบทีมแข่งขัน (TGT) ผลการวิจัยพบว่า
1. ประสิทธิภาพของบทเรียนบนเครือข่ายโดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือรูปแบบทีมแข่งขัน TGT ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพ
ดีพอใช้ (87.75 / 83.75) ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ที่ 80/80
2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. ดัชนีประสิทธิผลของการเรียนรู้ของนักศึกษาคิดเป็นร้อยละ 71.53
4. ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อบทเรียนบนเครือข่าย อยู่ในระดับมาก ( = 4.02, S.D.= 0.81)

The objectives of this study were 1) to develop a web-based instruction program by using the Team
Game Tournament Cooperative Learning Model of “Introduction to Electricity and Electronics course” for the
first year vocational certificate students based on the 80/80 standardized criteria, 2) to compare the learning
achievement of the experimental group with the control group, 3) to assess the effectiveness index of the web-based instruction program, and 4) to survey the satisfaction of the students with the instructional program.
The research results showed that the index of the instructional program efficiency was 87.75/83.75%
which was higher than the standardized criteria. 2) The results indicated that the scores of the control group
and the experimental group were significantly different at the .05 level. 3) The effectiveness index of the webbased
instruction program was 0.7153. 4) The average level of the satisfaction of the students with the
instructional program was high (X = 4.02, S.D. = .81).

Article Details

บท
บทความวิจัย