ทัศนคติของประชาชนต่อการปลูกไม้ยางนาในจังหวัดมหาสารคาม The Attitudes of People towards Growing Yang Trees in Maha Sarakham Province
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ ประการแรก เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนต่อความสำคัญของไม้ยางนา และประการที่สอง เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนต่อโครงการ ”ยางนาคืนถิ่น ปี 2550 - 2551„ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยข้าราชการ
นักวิชาการ ผู้นำท้องถิ่น องค์กรพัฒนาเอกชนและประชาชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการปลูกไม้ยางนาในจังหวัดมหาสารคาม จำนวน570 คน เครื่องมือการวิจัย คือ แบบสำรวจทัศนคติ สถิติที่ใช้ คือ ร้อยละ ผลการวิจัยพบว่าประชาชนมีทัศนคติต่อความสำคัญและประโยชน์ของการปลูกต้นยางนา ร้อยละ 43.51-91.0 ต่อปัญหาและอุปสรรค
ของการปลูกต้นยางนา ร้อยละ 19.65-75.96 ต่อวิธีการปลูกต้นยาง ร้อยละ 42.46-90.18 และต่อโครงการ ”ยางนาคืนถิ่นปี 2550 - 2551„ ร้อยละ 52.11-74.04
The objectives of this study were to 1) survey the attitudes of people towards growing Yang trees
and the Yang trees-growing project in 2006-2008. Five hundred and seventy sample subjects consisted of
government officers, academicians, community leaders, officers of private development organization and
farmers. The research instrument was a questionnaire on the attitudes towards the benefits and the Yang
trees-growing project. The research statistics used was percentage.
Results of the research were as follows:
According to the data, it was found that the average opinion of the people towards the benefits
and the Yang trees-growing project was 43.51-91.75. The percentage of the opinion of the people towards
the problems of growing Yang trees was 19.65-75.96. The percentage of the opinions towards the growing
method of Yang trees was 42.46-90.18, and the percentage of the opinion of the people towards the project
was 52.11-74.04.
Article Details
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา