การพัฒนาครูด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน โรงเรียนจินดาสินธวานนท์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 Teacher Development on Organizing Project-Based Learning Activities in Jindasintawanon School, Kalasin Educational Service Area Offic

Main Article Content

รุ้งเพ็ชร เบ้าเรือง Rungpechr Boureung

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาครูผู้สอนของโรงเรียนจินดาสินธวานนท์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 2 ให้มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน เป็นการวิจัย เชิงปฏิบัติการกลุ่มผู้ร่วมวิจัย คือ ครูผู้สอน ช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนจินดาสินธวานนท์ ในปีการศึกษา 2551 จำนวน 7 คน วิธีการที่ใช้ในการพัฒนาครูผู้สอน ประกอบด้วย การอบรมเชิงปฏิบัติการ การศึกษาดูงาน การนิเทศ เครื่องมือการวิจัย ประกอบด้วยแบบทดสอบ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกการประชุม และแบบประเมิน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณแสดงเป็น ค่าเฉลี่ย ข้อมูลเชิง
คุณภาพแสดงเป็นค่าความถี่ และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่าการพัฒนาครูด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน ผู้ร่วมวิจัยมีความกระตือรือร้นในการกระตุ้นให้ผู้เรียนได้
แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การคิดวิเคราะห์ และการวางแผนการทำงาน ด้านทักษะกระบวนการกลุ่ม ทำให้การเรียน การสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผู้ร่วมวิจัยมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานได้ ผลการ
ทดสอบก่อนและหลังการปฏิบัติการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานมีผลการพัฒนาเพิ่มขึ้นร้อยละ 30

The purposes of this study were to develop teachers for Jindasintawanon School, Kalasin of
Educational Service Area Office 2. The knowledge and the efficiency of organizing project activities were
examined through an action research. The 7 sampling teachers were from Jindasintawanon School, class
range 2 in the 2008- academic year.
The method of study included a workshop, a study tour, and supervision, together with the
project conceptual framework, a project activity design, and organizing project activities. The data collecting instruments consisted of a test, a behavior observation form, an interview form, meeting
minutes, and an evaluation form. The statistic used in analyzing the data were mean and percentage.
The results indicated that the teachers were enthusiastic to motivate students to study
independently, to think analytically, and to work in groups. The qualitative and qualitative data revealed
that project activities increased learning and teaching more efficiently, teachers’ knowledge and
understanding, including capability for a project activity design. The achievement scores after the study
was considered 30 percent higher than that of before the study. Most teachers were able to advise their
students to do project work as well as. The suggestions were having more attentive teaching,
administrators’ encouragement, being well organized study tours, and having an internal supervising for
sustainable development.

Article Details

บท
บทความวิจัย