การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 School Board Participation in Academic Affairs Administration in Schools under Buriram Primary Educational Service Area
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ ประการแรก เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารงานวิชาการใน
โรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของคณะกรรมสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ใน 3
ด้าน คือ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการเรียนการสอน ด้านการวัดผลประเมินผลและเทียบโอนผลการเรียน ประการที่สอง
เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารงานวิชาการ ในการบริหารงานทั้ง 3 ด้าน จำแนก
ตามตัวแปรต้นได้แก่ ขนาดสถานศึกษาและสถานภาพ และประการที่สาม เพื่อรวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้อง กลุ่มตัวอย่าง
เป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 จำนวน 321 คน
ซึ่งได้มาโดยตารางกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างของเครจซีและมอร์แกน และการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น และมีค่าความเชื่อมั่น .97 สถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่
ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า
โรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของคณะกรรมสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ใน 3
ด้าน คือ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการเรียนการสอน ด้านการวัดผลประเมินผลและเทียบโอนผลการเรียน ประการที่สอง
เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในการบริหารงานวิชาการ ในการบริหารงานทั้ง 3 ด้าน จำแนก
ตามตัวแปรต้นได้แก่ ขนาดสถานศึกษาและสถานภาพ และประการที่สาม เพื่อรวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้อง กลุ่มตัวอย่าง
เป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 จำนวน 321 คน
ซึ่งได้มาโดยตารางกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างของเครจซีและมอร์แกน และการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น และมีค่าความเชื่อมั่น .97 สถิตที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่
ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า
Article Details
บท
บทความวิจัย
1. บทความที่ลงตีพิมพ์ทุกเรื่องได้รับการตรวจทางวิชาการโดยผู้ประเมินอิสระ ผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) สาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย 3 ท่าน ในรูปแบบ Double blind review
2. ข้อคิดเห็นใด ๆ ของบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม นี้เป็นของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย
3. กองบรรณาธิการวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ไม่สงวนสิทธิ์การคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแสดงที่มา